Page 136 -
P. 136

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




                       การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ                                                  127





                       แทนคา [AM], [M] และ [A ]ในสมการ (6.42) จะได
                                             2
                                             1      dθ
                                                                                            2 2
                                                                                 2
                                               N mon     =      k  p (N )  (1 – θ)  – k  (N )  θ  (6.46)
                                                                          2
                                                                 a
                                                                                     d
                                                                                         mon
                                                                      mon
                                             2        dt
                                 dθ
                       ที่จุดสมดุล    = 0 ดังนั้นสมการ (6.46) จะเปลี่ยนเปน
                                 dt
                                                      2
                                            k  p (1 – θ)  =       k  θ 2                          (6.47)
                                                                   d
                                             a
                       แทนคา K จากสมการ (6.4) ในสมการ (6.47) จะได
                                            K p (1 – θ) 2  =      θ 2
                                                    θ
                       จัดรูปใหม จะได                    =      (Kp) 1/2                        (6.48)
                                                   − 1  θ

                                                                            1/2
                                                   θ       =      (1 – θ) (Kp)
                                                                    (K p) 1/2
                       จัดรูปใหม จะได            θ       =                                      (6.49)
                                                                     (K     1 +  p) 1/2

                       สมการ (6.49)  คือ  ไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่แตกตัวไดบนพื้นผิวของ
                       ตัวดูดซับที่เปนของแข็ง  ซึ่งแสดงใหเห็นวา  เศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ)  แปรตามรากที่

                       สองของความดัน (p) ของแกส A  และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวาง θ และ p ในรูปที่ 6.5
                                                  2

                              ในการเทียบกับไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่แตกตัวไดบนพื้นผิว

                       ที่เปนของแข็งในสมการ (6.49)  กับไอโซเทอรมแลงเมียรของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่ไมแตก

                       ตัว ดังสมการ (6.12) คือ
                                                                    K p
                                                   θ       =                                      (6.12)
                                                                         1 + K p
                       และเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) และความดัน (p)
                       ของการดูดซับบนพื้นผิวของตัวถูกดูดซับที่ไมแตกตัวและตัวถูกดูดซับที่แตกตัวไดในรูปที่ 6.5  โดย

                       พบวา

                              1.  เมื่อความดัน (p) สูงขึ้น จะไดเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) เพิ่มขึ้น ทั้งกรณี

                       ของการดูดซับของตัวถูกดูดซับที่ไมแตกตัวและแตกตัวได
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141