Page 142 -
P. 142
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ 133
Δ H 0 ad
(ln p) θ = + constant (6.22)
T R
ดังนั้นความสัมพันธในสมการ (6.22) ประกอบกับความสัมพันธที่ไดจากการทดลอง
ระหวาง θ กับ ΔH จึงกลายเปนไอโซเทอรมที่เรียกวา ไอโซเทอรมเทมคิน (Temkin isotherm) คือ
ad
θ = c ln (c p) (6.60)
1
2
หรือ θ = c (ln p) + c (ln c ) (6.61)
1
1
2
เมื่อ c และ c คือ คาคงที่ (constant)
2
1
สมการ (6.60) และ (6.61) คือ ไอโซเทอรมเทมคิน ที่แสดงวาเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ)
แปรตามลอการิธึมธรรมชาติของความดัน (ln p) และกราฟเสนตรงระหวาง θ และ ln p ที่มีความ
ชันเปน c และจุดตัดแกน θ (หรือแกน y) เปน c (ln c ) ดังแสดงในรูปที่ 6.8
1
1
2
รูปที่ 6.8 ไอโซเทอรมเทมคินของการดูดซับของแกสบนพื้นผิวของตัวดูดซับที่เปนของแข็ง ในรูป
ความสัมพันธระหวางเศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) และลอการิธึมธรรมชาติ
ของความดัน (ln p)
θ
8.0
6.0
4.0
2.0
0.0 ln (p/torr)
4.5 5.0 5.5 6.0 6.5 7.0