Page 143 -
P. 143

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




               134                                                                           บทที่ 6





               6.5  ไอโซเทอรมฟรอยดลิช (Freundlich Isotherm)

                       ไอโซเทอรมฟรอยดลิช  เปนไอโซเทอรมที่สรางขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับการทดลองของ

               กรณีการดูดซับของตัวถูกดูดซับ (adsorbate) ที่เปนแกสบนพื้นผิวของตัวดูดซับ (adsorbent) ที่พบวา
               เศษสวนของการปกคลุมบนพื้นผิว (θ) แปรตามความดัน (p) ที่อยูในรูปยกกําลังที่มีคาคงที่นอยกวา

               หนึ่ง คือ

                                            θ      =       c  p  c / 1  2                  (6.62)
                                                            1

               เมื่อ c  และ c คือ คาคงที่ (constant) และ c มีคามากกวาหนึ่ง
                    1
                                                   2
                          2

               แทนคา θ จากนิยามในสมการ (6.2) ในสมการ (6.62) จะได

                                             V                  c / 1
                                                 =         c  p   2                        (6.63)
                                           V mon            1

               จัดรูปใหม จะได             V      =       c  V  p   c / 1  2
                                                            1 mon

                                                                        1
               ใสลอการิธึมธรรมชาติ จะได  ln V    =       ln (c V ) +     (ln p)          (6.64)
                                                              1  mon
                                                                       c 2


               สมการ (6.64)  คือ  ไอโซเทอรมฟรอยดลิชของการดูดซับของแกสบนตัวดูดซับที่เปนของแข็ง  โดย
               แสดงความสัมพันธเชิงเสนตรงระหวางลอการิธึมธรรมชาติของปริมาตรของตัวถูกดูดซับบนตัวดูด

               ซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม (ln V) และลอการิธึมธรรมชาติของความดัน (ln p) ของแกส และแสดงกราฟ

               เสนตรงระหวาง ln V และ ln p ที่มีความชันเปน 1/c  และจุดตัดแกน ln V (หรือแกน y) เปน
                                                              2
               ln(c V ) ในรูปที่ 6.9 ดังนั้นกราฟดังกลาวจะสามารถหาคาคงที่ c  และ c V  เมื่อ V  คือ
                   1 mon
                                                                         2
                                                                                1 mon
                                                                                            mon
               ปริมาตรของตัวถูกดูดซับที่มีการดูดซับไดสมบูรณเพียงชั้นเดียวบนตัวดูดซับที่มีน้ําหนัก 1 กรัม
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148