Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       89



                       และเกษตรกรกวารอยละ 25 จางแรงงานในการทําสวนยางพารา เฉลี่ย    3 ราย  ใชแรงงานใน
                       ครัวเรือนเฉลี่ย 2 รายในการกรีดยางพารา และเกษตรกรมากกวารอยละ 40 จางแรงงาน
                       กรีดยางพารา เฉลี่ย 3 ราย

                               ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ เกษตรกรมี
                       ความพึงพอใจมากที่สุดตอดานการใหบริการของ สกย. ในระดับสูงที่สุด โดยเฉพาะการใชวาจาสุภาพ

                       ของพนักงาน สกย. รองลงมาการมีมนุษยสัมพันธของพนักงาน การแตงกาย การใหความสะดวกใน
                       การมาขอรับบริการ ความกระตือรือรนในการใหบริการของพนักงาน สําหรับความพึงพอใจ
                       ที่เกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด คือ ดานตลาดยางพารา โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจ
                       ตอการประชาสัมพันธขอมูลราคายางประจําวันนอยที่สุด รองลงมาความพอเพียงของจํานวนตลาดที่

                       ใหบริการ  ราคายางพาราของตลาดยาง สกย. เมื่อเทียบกับราคายางในทองถิ่น  ความรวดเร็ว เปนธรรม
                       โปรงใสและการดูแลคุณภาพยาง   ประโยชนตลาดยางพาราในการดูแลของ สกย. ความรวดเร็วและ
                       ความถูกตองดานการเงิน

                               ขั้นตอนการใหบริการของ สกย. ที่เกษตรกรยังไมพึงพอใจ  จากการศึกษาพบวา  เกษตรกร
                       ยังไมพึงพอใจ  1) ดานตลาดยางพารา   มากที่สุด ไดแก  ราคายางพาราตกต่ําทําใหชาวสวนยางมี

                       รายไดไมเพียงพอกับรายจาย   ตลาดยางพาราในพื้นที่มีนอย   และไมมีนโยบายการประกันราคายาง
                       ใหแกเกษตรกร  รองลงมา  2) ดานการจัดตั้งกลุมเกษตรกร   ไดแก  กลุมที่จัดตั้งไมเขมแข็ง และ
                       เจาหนาที่ขาดความตอเนื่องในการติดตามและใหความชวยเหลือ  กลุมขาดการใหความรวมมือจาก
                       สมาชิกและผูนําสงผลใหประสบความลมเหลว  เกษตรกร ไมทราบรายละเอียด และขั้นตอนใน การ

                       จัดตั้งกลุม  โดยตองการใหเจาหนาที่สงเสริมและแนะนํา   3) ดานการจัดอบรมใหคําแนะนําทาง
                       วิชาการ ไดแก ระยะเวลาในการจัดฝกอบรมนอย  การจัดฝกอบรมอยูในชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสม
                       ทําใหไมสามารถเขารวมได  และไมทราบรายละเอียดของการจัดฝกอบรม  4) ดานการใหบริการของ
                       พนักงาน สกย. ไดแก เจาหนาที่พูดจาไมสุภาพ และใหบริการลาชา


                               ปญหาในการรับบริการ  จากการศึกษาพบวา เกษตรกรประสบปญหา 1)       ดานตลาด
                       ยางพารา มากที่สุด ไดแก ราคายางพาราลดลงมากเมื่อเทียบกับที่ผานมา ในพื้นที่ขาดตลาดยางพารา
                       ภายใตการดูแลของ สกย. เครื่องชั่งน้ําหนัก (ตาชั่ง) ของพอคาไมเปนไปตามมาตรฐานสากล
                       ไมทราบขอมูลราคายางพาราประจําวัน  รองลงมา 2) ดานการจัดตั้งกลุมเกษตรกร   ไดแก กลุมที่
                       จัดตั้งมีการบริหารจัดการที่ไมเขมแข็ง  เกษตรกรในชุมชน ไมใหความรวมมือในการจัดตั้ง กลุมและ

                       ดําเนินกิจกรรม เนื่องจากไมเห็นความสําคัญ ขาดการสนับสนุนการจัดตั้งกลุมในทุกๆ ดานอยาง
                       ตอเนื่อง และผูนํากลุมไมเขมแข็ง  3) ดานการจัดอบรมใหคําแนะนําทางวิชาการ  ไดแก ขาดความรู
                       ทางวิชาการในการบํารุง ดูแลรักษาสวนยาง เกษตรกรไมไดเขารับการฝกอบรมอยางทั่วถึง เนื่องจาก

                       จํานวนรุนนอย ไมเพียงพอตอความตองการ และขาดการประชาสัมพันธขอมูลการจัดฝกอบรมอยาง
                       ทั่วถึง 4) ดานการใหบริการของพนักงาน สกย.  ไดแก เจาหนาที่มีจํานวนนอยไมสามารถดูแล
                       เกษตรกรไดอยางทั่วถึง
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107