Page 101 -
P. 101

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               88



                        ขอเสนอแนะในการพัฒนาการใหบริการของ สกย.        จากการศึกษาพบวา เกษตรกร
               เสนอแนะใหพัฒนาการใหบริการของ สกย. 1)  ดานการจายวัสดุสงเคราะหปลูกแทน  มากที่สุด
               โดยควรมีการพิจารณาเกณฑการสนับสนุนปริมาณปุย ใหเพิ่มมากขึ้น มีการตรวจสอบคุณภาพของปุย
               กอนแจกจาย  ควรปรับปรุงขั้นตอนหรือกระบวนการจายปุยใหมีความกระชับ   รวดเร็วหรือมีการ

               สนับสนุนเงินทุนใหแกเกษตรกรจัดซื้อปุยเองและใหเจาหนาที่เปนผูตรวจสอบ และหากไมสามารถจาย
               ปุยไดตามกําหนด ควรมีการประชาสัมพันธขาวสารการรับปุยในครั้งตอไปใหทราบโดยทั่วกัน 2)  ดาน
               การจายเงินสงเคราะหปลูกแทน  ควรปรับปรุงขั้นตอนในการจายเงินสงเคราะหปลูกแทนใหมีความ
               รวดเร็วมากยิ่งขึ้น  และพิจารณาจํานวนเงินสงเคราะหใหเหมาะสมกับรายจายที่เปลี่ยนแปลงตาม

               สภาวการณปจจุบัน  ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ เพื่อชี้แจงระเบียบและขั้นตอนในการจายเงิน
               สงเคราะหปลูกแทน 3)   ดานการสงเสริมใหเกษตรกรมีอาชีพเสริมระหวางการใหการสงเคราะห
               ควรขยายโอกาสใหเกษตรกรไดรับการสงเสริมการทําอาชีพเสริมใหมากขึ้นและตอเนื่อง   ควรมีการ
               สํารวจความตองการในการประกอบอาชีพเสริมกอนดําเนินการสงเสริม  4) ดานการยื่นคําขอรับการ

               สงเคราะห ควรมีการพิจารณาขอกําหนดและใหคําปรึกษาในการใหสงเคราะหเกษตรกรที่ไมเอกสาร
               สิทธิ์ในที่ทํากิน  ควรมีการมอบอํานาจใหผูใหญบาน/ ผูนําชุมชนเปนผูรับคําขอรับการสงเคราะหจาก
               เกษตรกรในขั้นตน 5) ดานการตรวจสวนยาง เจาหนาที่ควรเขาตรวจสวนยางพาราทุกแปลงและเขา

               ตรวจสวนยางพาราตรงตามเวลาที่ไดนัดหมายไว 6) ดานการชี้แจง/ แนะนําสวนยางสงเคราะหปลูกแทน
               ควรเพิ่มการใหคําแนะนําเกี่ยวกับการปลูกยางพารา ไดแก พันธุยาง การปลูกและดูแลรักษา   ควรมี
               การจัดประชุมใหความรูเกี่ยวของกับยางพาราในหมูบานอยางตอเนื่อง  พรอมทั้งมีการจัดนิทรรศการ
               ขนาดเล็กเพื่อเสริมสรางความรูผานวีดีโอหรือโปสเตอรกอนการประชุม 30 นาที 7)   ดานการโคน
               ยางพาราเกาและปลูกแทน   การใหคําปรึกษา/ แนะนําเกี่ยวกับการโคนยางพาราเกาและปลูกแทน

               ควรเปนไปในทิศทางเดียวกันเพื่อใหเกษตรกรเกิดความเขาใจที่ตรงกัน   และควรมีการสนับสนุนใหมี
               การจัดตั้งกลุม/ สหกรณในการจัดการไมยางพารา เพื่อจัดหาคนกลางทําหนาที่เปนผูประสานงาน
               8) ดานการแจงผลการอนุมัติการใหการสงเคราะห ควรมีการแจงผลการอนุมัติการใหการสงเคราะห

               ใหเกษตรกรทราบโดยตรงหรือผานหัวหนากลุม/ ครูยาง  ดานการใหบริการของพนักงาน สกย.  ควร
               ปรับปรุงการใหบริการของเจาหนาที่ในดานความกระตือรือรนในการใหบริการ 9)  ดานการสํารวจ
               สภาพตนยาง สภาพพื้นที่ และการสํารวจรังวัดพื้นที่   ควรมีการชี้แจงระเบียบในการสํารวจสภาพ
               ตนยาง สภาพพื้นที่ และการสํารวจรังวัดพื้นที่ใหเกษตรกรทราบกอนการดําเนินการสํารวจ

               ดานหลักเกณฑการอนุมัติ ควรมีการปรับปรุงขั้นตอนในการยื่นขอรับการสงเคราะหใหมีความกระชับ
               และรวดเร็วในการทํางาน

                     2) เกษตรกรหลังรับการสงเคราะห

                        ขอมูลทั่วไป เกษตรกรหลังรับการสงเคราะห จากตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 417 ราย สวนใหญ
               เปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 55 ป จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา และไมไดประกอบอาชีพอื่นนอกจาก
               การทําสวนยางพารา มีประสบการณในการทําสวนยางพารา เฉลี่ย 25 ป มีที่ดิน ในการทําสวนยาง

               เฉลี่ย 31 ไร มีเนื้อที่หลังรับการสงเคราะหการทําสวนยางจาก สกย. เฉลี่ย 19 ไร   นอกจากนั้น
               ครอบครัวของเกษตรกรมีสมาชิก เฉลี่ย 4 ราย เปนแรงงานในการทําสวนยางพาราได เฉลี่ย 2 ราย
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106