Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               86



                  1.3 ผลการศึกษา

                     1) เกษตรกรระหวางการสงเคราะห

                        ขอมูลทั่วไป  เกษตรกรระหวางการสงเคราะห จากตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 429 ราย สวนใหญ
               เปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 54 ป จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา และไมไดประกอบอาชีพอื่นนอกจาก
               การทําสวนยางพารา เกษตรกรมีประสบการณในการทําสวนยางพารา เฉลี่ย 24 ป มีที่ดินในการทํา
               สวนยาง เฉลี่ย 28 ไร มีเนื้อที่ระหวางรับการสงเคราะหการทําสวนยางจาก สกย. เฉลี่ย 13 ไร

               นอกจากนั้น ครอบครัวของเกษตรกรมีสมาชิก เฉลี่ย 4 ราย เปนแรงงานในการทําสวนยางพาราได
               เฉลี่ย 2 ราย แตอยางไรก็ตามมีเกษตรกรกวารอยละ 30 ที่จางแรงงานในการทําสวนยางพารา เฉลี่ย
               3 ราย

                        ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ  เกษตรกร
               ระหวางการสงเคราะหมีความพึงพอใจมากที่สุดตอดานการใหบริการของ สกย. ในระดับสูงที่สุด

               โดยเฉพาะการแตงกายของพนักงาน รองลงมาความมีมนุษยสัมพันธ ความกระตือรือรน การใหความ
               สะดวกในการมาขอรับบริการ และการใชวาจาสุภาพของพนักงาน สําหรับความพึงพอใจที่เกษตรกรมี
               ความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด คือ ดานการจายวัสดุสงเคราะหปลูกแทน โดยเฉพาะความพอเพียง

               ของจํานวนปุยที่ไดรับการสนับสนุนจาก สกย. เกษตรกรมีความในระดับนอยที่สุด รองลงมาคุณภาพ
               ของปุยที่ไดรับการสนับสนุนจาก สกย. วิธีการบริหารจัดการปุยใหเกษตรกร และวิธีการบริหารจัดการ
               พันธุยางใหเกษตรกรปลูก

                        ขั้นตอนการใหบริการของ สกย. ที่ยังไมพึงพอใจ   จากการศึกษาพบวา   เกษตรกรยังไม
               พึงพอใจ 1)  ดานการจายวัสดุสงเคราะหปลูกแทน  มากที่สุด ไดแก  คุณภาพและปริมาณของปุย

               การจายปุยลาชา  ชนิดของปุยไมตรงกับความตองการ จุดนัดจายปุยอยูหางไกล  และจายปุยไมตรง
               ตามฤดูกาล รองลงมา 2) ดานการสงเสริมใหเกษตรกรมีอาชีพเสริมระหวางการใหการสงเคราะห
               ไดแก เจาหนาที่ขาดการแนะนําและสงเสริมอยางเปนรูปธรรม  ขาดเงินทุนในการเริ่มดําเนินการ  และ
               เกษตรกรในชุมชนไมใหความสนใจ 3) ดานการจายเงินสงเคราะหปลูกแทน ไดแก เจาหนาที่จายเงิน
               ไมตรงตามกําหนด  ลาชา และไมเพียงพอ อีกทั้งยังไมเขาใจในระบบของการจายเงินสงเคราะห และ

               เจาหนาที่ขาดการชี้แจงรายละเอียดของขอมูล 4) ดานการตรวจสวนยาง ไดแก เจาหนาที่ดําเนินการ
               ชากวาที่ไดนัดหมาย ไมไดแจงใหทราบลวงหนา กอนเขาตรวจสวน  และเจาหนาที่ตรวจสวนไมให
               คําแนะนําในการดูแลและบํารุงรักษา สวนยางพารา 5) ดานการตรวจสวนยางระบบกลุม   ไดแก

               เจาหนาที่ขาดการประชาสัมพันธกอนเขาตรวจสวน และมาไมตรงตามนัด 6) ดานการชี้แจง/ แนะนํา
               สวนยางสงเคราะหปลูกแทน   ไดแก เจาหนา ที่ขาดความสม่ําเสมอในการเขามาใหความรูและ
               คําแนะนําแกเกษตรกร โดยเฉพาะเรื่องของพันธุยาง ดานหลักเกณฑการอนุมัติ ไดแก ขั้นตอนในการ

               ดําเนินการมีความลาชา  มีความเขาใจที่ไมตรงกันระหวางเจาหนาที่และเกษตรกร ในเรื่องหลักเกณฑ
               การอนุมัติ และเงื่อนไขดานหลักเกณฑคอนขางมาก 7) ดานการอนุมัติใหการสงเคราะห ไดแก รอผล
               การอนุมัตินาน และคําตอบที่ไดยังขาดความชัดเจน  8) ดานการสํารวจสภาพตนยาง สภาพพื้นที่

               และการสํารวจรังวัดพื้นที่  ไดแก เจา หนาที่สํารวจรังวัดใหขอมูลไมตรงกับสภาพความเปนจริง
               ดําเนินการลาชา ขาดการแจงใหทราบลวงหนากอนการเขาสํารวจ และขาดการศึกษาความเหมาะสม
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104