Page 103 -
P. 103

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               90



                        ขอเสนอแนะในการพัฒนาการใหบริการของ สกย.        จากการศึกษาพบวา เกษตรกร
               เสนอแนะใหพัฒนาการใหบริการของ สกย.  1) ดานตลาดยางพารา  มากที่สุด โดยรัฐบาลหรือ
               หนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการผลักดันใหราคายางพารามีความสอดคลองกับคาครองชีพที่สูงขึ้น
               ควรเพิ่มจํานวนตลาดยางพาราภายใตการดูแลของ สกย. ให มากขึ้น ควรมีมาตรการการประกันราคา

               ยางพาราเพื่อชวยเหลือเกษตรกร  มีการประชาสัมพันธราคากลางในการรับซื้อยางพาราอยางทั่วถึง
               และรวดเร็ว รัฐบาลควรผลักดันใหเกิดนโยบาย การระบายผลผลิตที่เกี่ยวของกับยางพารา  ควรมีการ
               แทรกแซงราคายางพาราใหไมต่ํากวาตนทุนการผลิต    และเจาหนาที่ สกย. ควรมีอํานาจในการ
               ตรวจสอบเครื่องชั่งน้ําหนัก (ตาชั่ง) ของพอคา  รองลงมา 2) ดานการจัดตั้งกลุมเกษตรกร  ควรมีการ

               ใหความรู คําแนะนําและเปนที่ปรึกษาดานการบริหารจัดการกลุมอยางตอเนื่อง มีการประชาสัมพันธ
               เพื่อสรางความเขาใจและตระหนักรูถึงประโยชนจากการรวมกลุมใหเกษตรกร และเพิ่มการสนับสนุน
               ใหมีการจัดตั้งกลุมใหครอบคลุมทุกพื้นที่   3) ดานการจัดอบรมใหคําแนะนําทางวิชาการ   ควรมีการ
               จัดฝกอบรมอยางตอเนื่อง และเพิ่มความถี่ในการจัดฝกอบรม โดยใชเวลาในแตละครั้งไมนานเกินไป

               และใหความสําคัญกับความรูดานการกรีดยางพาราและการดูแลรักษา สวนยางพารา โดยเฉพาะเรื่อง
               โรค พรอมทั้ง มีการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารการจัดฝกอบรมอยางทั่วถึงและตอเนื่อง   มีการ
               ปรับปรุงเนื้อหาของความรูที่ใชในการถายทอดใหเขาใจงายและสอดคลองกับสถานการณที่

               เปลี่ยนแปลงไป 4) ดานการใหบริการของพนักงาน สกย. ควรมีการพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอน
               การใหบริการดานตางๆ อยางตอเนื่อง พรอมทั้งมีการเพิ่มอัตรากําลังของเจาหนาที่ใหเพียงพอตอ
               ความตองการรับบริการของเกษตรกร

                     3) เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

                        ขอมูลทั่วไป  เกษตรกรผูปลูกยางเอง (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จาก
               ตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 471 ราย สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 52 ป จบการศึกษาชั้น
               ประถมศึกษา ประกอบอาชีพทํานานอกจากการทําสวนยางพารา มีประสบการณในการทําสวน

               ยางพารา เฉลี่ย 11 ป มีที่ดินในการทําสวนยาง เฉลี่ย 24 ไร มีเนื้อที่ที่เขารวมโครงการบํารุงรักษา
               สวนและการกรีดยางอยางถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตกับ สกย. เฉลี่ย 18 ไร นอกจากนั้น ครอบครัวของ
               เกษตรกรมีสมาชิก เฉลี่ย 4 ราย เปนแรงงานในการทําสวนยางพาราได เฉลี่ย 2 ราย และเกษตรกร

               กวารอยละ 15 จางแรงงานในการทําสวนยางพารา เฉลี่ย 3 ราย ดานการกรีดยางพารา เกษตรกรจะ
               ใชแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2 ราย และเกษตรกรมากกวารอยละ 21 จางแรงงานกรีดยางพารา
               เฉลี่ย 2 ราย

                        ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ  เกษตรกร
               มีความพึงพอใจมากที่สุดตอดานการใหบริการของ สกย. ในระดับสูงที่สุด โดยเฉพาะการใชวาจา

               สุภาพของพนักงาน สกย. รองลงมาความกระตือรือรนในการใหบริการ การแตงกาย การมีมนุษย
               สัมพันธของพนักงาน และการใหความสะดวกในการมาขอรับบริการ สําหรับความพึงพอใจที่เกษตรกร
               มีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด คือ ดานตลาดยางพารา โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจตอความ
               พอเพียงของจํานวนตลาดที่ใหบริการในระดับนอยที่สุด รองลงมาการประชาสัมพันธขอมูลราคายาง

               ประจําวัน ความรวดเร็ว เปนธรรม โปรงใส และการดูแลคุณภาพยาง ความรวดเร็ว ถูกตอง
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108