Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               92



               มาตรฐานและยั่งยืน รองลงมา 2) ดานการจัดตั้งกลุมเกษตรกร  ไดแก ควรมีการถายทอดความรูใน
               การบริหารจัดการกลุมและมีพี่เลี้ยงคอยใหคําปรึกษาอยางตอเนื่อง ควรมีเจาหนาที่เปนผูผลักดันและ
               ประสานงานในการขอจัดตั้งกลุม  พรอมทั้ง ประชาสัมพันธถึงประโยชนที่จะ ไดรับ 3) ดานการจัด
               อบรมใหคําแนะนําทางวิชาการ  ไดแก ควรมีการจัดฝกอบรมซ้ําในหัวขอเดิมอยางนอยปละ 2 ครั้ง

               และจัดฝกอบรมอยางตอเนื่องในทุกหมูบานอยางนอยเดือนละ 2-3 ครั้ง  โดยเฉพาะความรูดานการ
               กรีดยางและการบํารุงดูแลรักษาสวนยางพารา ควรเพิ่มเจาหนาที่ในระหวางการจัดฝกอบรม เพื่อให
               สามารถดูแลเกษตรกรไดอยางทั่วถึง ควรมีการพัฒนาสื่อประกอบการถายทอดความรูเพื่อเพิ่มความ
               เขาใจและใหเกษตรกรสามารถนํากลับไปทบทวนที่บานได และควรมีการประชาสัมพันธขอมูลขาวสาร

               การจัดฝกอบรมอยางตอเนื่อง  ทั่วถึง และลวงหนา 4)  ดานการใหบริการของพนักงาน สกย.  ไดแก
               ควรเพิ่มอัตรากําลังในการใหบริการแกเกษตรกร และควรเขาหาเกษตรกรในพื้นที่อยางตอเนื่อง

                     4) พอคาที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร

                        ขอมูลทั่วไป  พอคารับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร จากตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 53 ราย
               สวนใหญเปนเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 45 ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรี รับซื้อผลผลิตยางของ
               เกษตรกรจากรานที่ตนเองเปนเจาของเพียงคนเดียว  โดยรับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกรจากตลาด

               ยางในพื้นที่มากที่สุด รองลงมารับซื้อผลผลิตจากตลาดที่ซื้อขายในลักษณะของการประมูลภายใตการ
               ดูแลของ สกย. สําหรับการรับซื้อผลผลิต พอคารับซื้อในรูปแบบของยางแผนดิบและยางกอนถวยมาก
               ที่สุด รองลงมาในรูปแบบของน้ํายางสด

                        ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ  พอคารับ
               ซื้อผลผลิตยางของเกษตรกรมีความพึงพอใจมากที่สุดตอดานการบริการตลาดยางพาราในพื้นที่ใน

               ระดับสูงที่สุด โดยเฉพาะประโยชนของตลาดยางในพื้นที่ รองลง  มาการอํานวยความสะดวกของ
               พนักงาน สกย. และดานทําเล-ที่ตั้ง สิ่งอํานวยความสะดวก เชน สถานที่ โตะ เกาอี้ การสื่อสารฯลฯ
               จํานวนตลาดครอบคุลมทุกพื้นที่ คุณภาพของยางที่ซื้อ และการประชาสัมพันธขอมูลราคายาง

               ประจําวัน สําหรับความพึงพอใจที่พอคารับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกรมีความพึงพอใจในระดับนอย
               ที่สุด คือ ดานการบริการดานการตลาดยางของ สกย. โดยเฉพาะการตลาดยางของ สกย. มีผลกระทบ
               ตอราคายางพาราในระดับชาติ รองลงมาการตลาดยางของ สกย. มีผลกระทบตอราคายางพาราใน
               ทองถิ่น ดานพอคาไดซื้อยางในราคาที่เปนธรรม บริการดานการตลาดของ สกย. มีความสอดคลองกับ

               ความตองการของเกษตรกร และการบริการดานการตลาดของ สกย. ทําใหคุณภาพยางสูงขึ้น

                        ขั้นตอนการใหบริการของ สกย. ที่ยังไมพึงพอใจ    จากการศึกษาพบวา พอคารับซื้อ
               ผลผลิตยางของเกษตรกรยังไมพึงพอใจ 1)  ดานการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตยาง  มากที่สุด ไดแก
               เกษตรกรขาดการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตอยางจริงจัง ไมมีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพยางกอนถวย
               คุณภาพยาง ของเกษตรกร ไมมีความสม่ําเสมอ  ดานตลาดยางในพื้นที่  ไดแก เกษตรกรขาดความ

               ซื่อสัตยในคุณภาพยางของตนเอง มีการปะปนกันของผลผลิตที่คุณภาพดีและไมดี มาตรฐานตาชั่งของ
               แตละรานคาไมตรงกัน  ดานตลาดยางที่ซื้อขายในลักษณะการประมูล  ไดแก  ขาดการตรวจวัด
               คุณภาพของยางเพื่อคัดเกรด ขาดการอางอิงราคาตามราคากลาง มาตรฐานตาชั่งของพอคาแตละราย
               ไมตรงกัน มีการสงยางใหผูชนะการประมูลลาชา เนื่องจากมีบริษัทประมูลราคาหลายบริษัท เกษตรกร
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110