Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
29
2.8 กรอบแนวคิดในการวิจัย
การวิจัยนี้มีกรอบแนวคิดในการศึกษาถึงสภาวการณ์ปัจจุบันในการผลิต การจัดการผลผลิตในการ
ปลูกพริกของเกษตรกร 2 กลุ่ม คือเกษตรกรที่ผ่านการรับรองมาตรฐานการผลิต (Q) และเกษตรกรที่ผลิตแบบ
ทั่วไป และศึกษาถึงการได้รับความรู้/เทคโนโลยี และการนําไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพของ
เกษตรกรทั้งสองกลุ่ม รวมทั้งศึกษาถึงความต้องการ ปัญหา มาตรฐานของผู้บริโภค ผู้ประกอบการ ทั้งตลาด
ภายในประเทศ และตลาดส่งออกผลผลิตพริกในจังหวัดนครปฐม โดยศึกษาถึงแนวทางในการพัฒนาการผลิต
พริกเพื่อการค้าจังหวัดนครปฐม ความร่วมมือในการยกระดับมาตรฐานการผลิตของเกษตรกร ในระดับต่างๆ
ให้ได้ตามมาตรฐานที่กําหนด ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ตลาดในระดับต่างๆ ต้องการ โดยใช้องค์ความรู้จาก
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน NGOs และสถาบันการศึกษา ช่วยในการขับเคลื่อนการผลิตพริกปลอดภัยเพื่อการค้า
ในจังหวัดนครปฐม ดังแสดงในภาพที่ 2-5
ข้อเสนอแนะในการปลูกพริกปลอดภัย
เพื�อการค้าจังหวัดนครปฐม
มาตรฐานที�กําหนด
องค์ความรู้
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สังเคราะห์
NGOs สถาบันการศึกษา ยกระดับคุณภาพ ยกระดับมาตรฐาน ระดับมาตรฐาน
(การรับรอง เงื�อนไข ผลผลิต การผลิต
มาตรฐาน)
วิเคราะห์ มาตรฐานการปฏิบัติที�เป�นอยู่
ศึกษาสภาวการณ์ป�จจุบัน การตลาด
การผลิตพริก ผู้บริโภค
-เกษตรกรผ่านการรับรอง Q
และเกษตรกรไม่ได้ผลิตภายใต้ระบบ GAP
- วิธีการ/ขั�นตอนการผลิต/จัดการตามมาตรฐาน
- เทคโนโลยี ตลาด/ภาคเอกชน
- กลุ่ม เครือข่าย
- การแลกเปลี�ยนเรียนรู้ 1. ความต้องการและป�ญหา
2. มูลค่าและปริมาณ
ป�ญหา ความต้องการ 3. เงื�อนไขมาตรฐาน
ภาพที่ 2-5 กรอบแนวคิดการวิจัยระบบการผลิตพริกปลอดภัยจังหวัดนครปฐม