Page 107 -
P. 107
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
103
5. ก าหนดแผนการตรวจสอบการท างานของบริษัทขนส่ง
การก าหนดแผนการตรวจสอบการขนส่ง จะก าหนดการตรวจสอบให้ครอบคลุมทุกบริษัทขนส่ง และพื้นที่
การส่งได้รับการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน เพื่อให้มั่นใจว่าการขนส่งของทุกบริษัทและทุกพื้นที่มีการ
ปฏิบัติตามมาตรฐานที่ก าหนดขึ้น โดยก าหนดแผนการตรวจสอบตามตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แผนการตรวจสอบการขนส่งสินค้า
สินค้า/วัตถุดิบ จ านวนการสุ่ม/เดือน จุดตรวจสอบ บริษัทขนส่ง พื้นที่ส่ง
ไก่สด 1 โรงงานผู้ผลิต 1 บริษัท A กทม. /ตะวันตก
(สุ่ม 4 ครั้ง/เดือน) บริษัท B ตะวันออก
1 โรงงานผู้ผลิต 2 บริษัท A อีสาน
1 โรงงานผู้ผลิต 3 บริษัท C ภาคกลาง
1 โรงงานผู้ผลิต 4 บริษัท D ภาคเหนือ
อาหารแช่แข็ง 1 โรงงานผู้ผลิต 5 บริษัท E DC-S /DC-A
(สุ่ม 4 ครั้ง/เดือน) 1 โรงงานผู้ผลิต 6 บริษัท E DC-S /DC-A
1 DC-S บริษัท F กรุงเทพฯ
1 DC-A บริษัท G ต่างจังหวัด
Soft serve 1 โรงงานผู้ผลิต 7 บริษัท H กรุงเทพฯ
(สุ่ม 4 ครั้ง/เดือน) 1 โรงงานผู้ผลิต 7 บริษัท G ภาคเหนือ/ภาคใต้
1 โรงงานผู้ผลิต 7 บริษัท G ภาคตะวันออก/ตะวันตก/อีสานล่าง
1 โรงงานผู้ผลิต 7 บริษัท G อีสานบน/ภาคกลาง
Dry goods 1 DC-I บริษัท I กรุงเทพฯ
(สุ่ม 2 ครั้ง/เดือน) 1 DC-I บริษัท E ต่างจังหวัด
จากแผนการตรวจสอบดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการตรวจสอบนั้นครอบคลุมทุกบริษัทขนส่ง และทุกพื้นที่
การจัดส่ง
6. เปรียบเทียบจ านวนข้อร้องเรียนก่อนและหลังการจัดท าและใช้มาตรฐานการปฏิบัติต่อสินค้าระหว่าง
การขนส่งที่พัฒนาขึ้น
จากการสุ่มตรวจสอบการท างานของบริษัทขนส่งเป็นเวลา 9 เดือน ระหว่างปีพ.ศ. 2549 พบว่า ในช่วง
แรกของการตรวจสอบพบปัญหาในเรื่องของการท าอุณหภูมิ ความสมบูรณ์ของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ไม่มีการติดตั้ง
ม่านพลาสติก ความสะอาดไม่เหมาะสม รถเข็นช ารุดและเป็นสนิมจ านวนมาก และเมื่อมีการใช้มาตรฐานการ
ท างานที่พัฒนาขึ้น พบว่า บริษัทขนส่งมีการพัฒนา ปรับปรุงการท างาน และความสมบูรณ์ของรถขนส่งให้ได้ตาม
มาตรฐานมากยิ่งขึ้น ซึ่งมีผลต่อการประเมินการท างานของบริษัทขนส่งที่ว่าจ้าง ดังแสดงในภาพที่ 9 - 12
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์