Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พลวัตของความยากจน
ตารางที่ 2.4 (ต่อ)
ประเด็นคำถาม เครื่องมือที่ใช้และ รายละเอียด
การได้มาของข้อมูล
เปลี่ยนแปลงฐานะความยากจนของครัวเรือนระหว่าง
ปี 2552/ 2553 และ 2530/ 2531 โดยครัวเรือนจะถูก
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไม่เคยจน (non-poor
➝ non-poor) กลุ่มหลุดพ้นจากความยากจน (poor
➝ non-poor) กลุ่มที่ยังคงยากจน (poor poor)
➝
กลุ่มที่เข้าสู่ความยากจน (non-poor poor)
➝
2. พลวัตความยากจน • การสำรวจ • การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและปัจจัยที่กำหนดการเกิด
มีสาเหตุมาจาก ครัวเรือนบนฐาน พลวัตความยากจนจะใช้วิธีปริมาณ ประกอบด้วย
ปัจจัยใดบ้างและมี ข้อมูลจากแบบ (i) การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive analysis)
กระบวนการอย่างไร สอบถาม panel อาทิ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์
survey ประกอบของครัวเรือน การเปลี่ยนแปลงการถือครอง
ที่ดิน และการเปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพ เป็นต้น
และ (ii) การวิเคราะห์สมการถดถอยบนฐานข้อมูล
Panel (regression methods) เพื่อวิเคราะห์ว่าปัจจัย
ใดบ้างมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของความยากจน
ได้แก่ discrete model of poverty status และ
continuous model
• การสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับประวัติชีวิตของครัวเรือน
(life history interviews) กับครัวเรือนตัวอย่าง 24
ครัวเรือนโดยสุ่มตัวอย่างมาจำนวน 12 ครัวเรือนต่อ
จังหวัด ประเด็นคำถามเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นในช่วงชีวิตและการเปลี่ยนแปลงลักษณะความ
เป็นอยู่ของครัวเรือนเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงชีวิตในปี
2531 โดยข้อมูลและเนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์
จะถูกนำมาสร้างเส้นกราฟชีวิตของครัวเรือนเพื่อดู
ลักษณะและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
• การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างกับครัวเรือน โดยจะ
สอบถามถึงความเห็นของครัวเรือนในประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับสาเหตุและปัจจัยที่ครัวเรือนคิดว่ามีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงต่อชีวิตความเป็นอยู่ของตัวเอง
บนพื้นฐานความรู้สึกนึกคิดของครัวเรือนเอง
50 สถาบันคลังสมองของชาติ