Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          23



                   สําหรับอาหารขนจะไดกรด  Propionic               เปนสวนใหญและเปนตัวสําคัญที่ไปกระตุนทําใหปุมหนัง

                   ( papillae )  ในกระเพาะรูเมนมีจํานวนมากขึ้นพรอมที่จะเปนสัตวเคี้ยวเอื้องโดยสมบูรณ      สวนหญาก็
                   สามารถหมักไดกรดชนิดเดียวกันและยังทําใหลูกโคมีการเคี้ยวเอื้องตามปกติ และรักษาความเปนกรด – ดาง

                   ในกระเพาะรูเมนเพื่อใหจุลินทรียทํางานไดดีอีกดวย

                          ตารางที่  3 - 3  แสดงการพัฒนาของ กระเพาะลูกโค คิดเปนเปอรเซ็นต



                                                อายุ ( สัปดาห )   0  4  8  12 16 20-26 34-38

                          รายการ
                          -กระเพาะผาขี้ริ้วและรังผึ้ง            38  52  60  64  67  64    64

                          (Rumen and  Recticulum )
                          - กระเพาะสามสิบกลีบ ( Omasum )   13   12   13   14  18    22      25

                          - กระเพาะแท ( Abomasum )      49   36    27   22  15     14      11
                                 ที่มา.  Adapted  from  Church. 1976   อางโดย  Quigley . J.D.



                          ดังนั้น  อาหารขนนอกจากจะชวยใหกระเพาะหมักพัฒนาไดเร็วขึ้น ยังสามารถใหกินเสริมทดแทน

                   อาหารนมได ทําใหลดตนทุนการผลิต และหยานมไดเร็ว ซึ่งอาหารขนสําหรับลูกโคควรประกอบดวยแหลง
                   โปรตีนที่มีคุณภาพดี  เชน  ปลาปน   กากถั่วเหลือง  เปนตน  เหมือนกับที่ใชในสัตวกระเพาะเดี่ยว

                   การเลี้ยงลูกโคนมแรกเกิด – หยานม ของเกษตรกรในปจจุบัน


                          วิธีการเลี้ยงลูกโคนมของเกษตรกรในปจจุบันมีวิธีตาง ๆ กัน พอสรุปไดดังนี้
                          1. เลี้ยงดวยนมแม ( Whole Milk ) ซึ่งอาจจะใหกินโดยรีดนมใหกินบาง หรือเวนเตานมใหลูกโค

                   ดูด โดยใหกินนมประมาณ  4  กิโลกรัม   ( ประมาณ 10 % ของน้ําหนักตัว )  หรือบางฟารมใหถึง 5 – 6

                   กิโลกรัมและเพิ่มขึ้นตามขนาดและอายุของลูกโค ซึ่งทําใหลูกโคมีอัตราการเจริญเติบโตดี    และอาจเสริม

                   อาหารขนใหกินบาง    แตมักจะใหหลังจากลูกโคอายุ  1   เดือนแลว   และลูกโคมักจะกินอาหารขนนอย
                   เพราะไดรับนมมาก  และหยานมลูกโคเมื่ออายุ 3 – 4 เดือน  วิธีนี้ใชตนทุนการผลิตสูง และกระเพาะหมัก

                   ของโคมีการพัฒนาชาอาจทําใหลูกโคมีอาการชะงักการเจริญเติบโตหลังหยานมได

                          2. เลี้ยงดวยนมเทียม ( Milk Replacer ) โดยใหนมเทียมแกลูกโคหลังจากกินนมน้ําเหลือง หรือ
                   หลังจากที่กินนมแมไประยะหนึ่ง  โดยอาจใหกินนมปริมาณเพิ่มขึ้นตามน้ําหนักโค  หรืออาจใหกินจํากัด

                   พรอมอาหารขนและหญาเสริม  ซึ่งวิธีนี้เปนการประหยัดคาใชจายกวาวิธีแรกเพราะนมเทียมมีราคาถูกกวา

                          สําหรับนมเทียม ( Milk Replacer ) หมายถึงนมที่มีการปรุงแตงขึ้นจากวัตถุดิบหลายชนิด  สําหรับ
                   เลี้ยงลูกโคแทนนมแม ซึ่งสวนใหญจะมีหางนมผง ( skim milk powder ) เปนหลัก  วิธีการผสมนมเทียม

                   สําหรับเลี้ยงลูกโคโดยใชนมเทียมผสมน้ําอุนในอัตราสวน 1  ตอ 7 – 9  ใหลูกโคกินวันละ 4  ลิตร  พรอม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38