Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          22



                          2. ใชไข 1  ใบ  ผสมน้ํา 300  ซีซี.  และน้ํามันละหุงครึ่งชอนชา  ตีใหเขากันแลวนําไปผสมกับนม

                   ธรรมดา 600 ซีซี. ใหกินติดตอกัน 3 – 4 วัน ๆ ละ 3 มื้อ ไขขาวจะทําหนาที่ตานแบคทีเรีย และ   Albumin
                   ในไขก็จะดูดซึมเขาไปในกระแสเลือดของลูกโคทําหนาที่เหมือนภูมิคุมกันในนมน้ําเหลือง

                          3. ใชยาปฏิชีวนะผสมลงในนมธรรมดาใหลูกโคกิน

                   ระบบทางเดินอาหารลูกโค

                          โคเปนสัตวกระเพาะรวม  (Compound  Stomach ) โดยแบงออกไดเปน 4 สวน คือ

                                 - กระเพาะผาขี้ริ้ว ( Rumen )

                                 - กระเพาะรังผึ้ง ( Reticulum )
                                 - กระเพาะสามสิบกลีบ ( Omasum )

                                 - กระเพาะจริง ( Abomasum )

                          สวนลูกโคระยะแรก  การทํางานของกระเพาะจะเหมือนกับสัตวกระเพาะเดี่ยวทั่วไป  เนื่องจาก
                   กระเพาะหมักสามสวนแรกยังไมพัฒนามากนัก  ดังนั้นเมื่อลูกโคกินน้ํานมก็จะไหลผานทอ Esophageal

                   groove ( reticular groove ) สูกระเพาะที่สาม และกระเพาะจริง ( Abomasum ) ตอไป แตถาลูกโคกินนมไม

                   ถูกวิธีหรือกินนมมากเกินไปน้ํานมก็มีโอกาสที่จะตกลงไปในกระเพาะรูเมน  ทําใหเกิดการหมักลูกโคอาจ
                   ทองเสียได

                          สวนประกอบของกระเพาะลูกโคแรกเกิดซึ่งกระเพาะหมักยังไมพัฒนา  ประกอบกับกระเพาะจริง

                   และลําไสยังไมมีน้ํายอยที่ยอยสารอาหารเชิงซอนได  ดังนั้นน้ํานมจึงเปนอาหารที่จําเปนสําหรับลูกโคระยะ
                   นี้  เพราะน้ํานมประกอบดวยสารอาหารที่ยอยไดงาย  มีโภชนะอาหารอยูสูง  จนกระทั่งลูกโคมีอายุมากขึ้น

                   กระเพาะมีการพัฒนาสามารถยอยและหมักอาหารอื่นไดบาง เชนอาหารขนและหญา เมื่ออายุไดประมาณ 4

                   เดือน  ซึ่งเปนระยะที่ปลอดภัยสําหรับลูกโค    กระเพาะหมักสามารถหมักอาหารและหญาไดโดยจุลินทรีย

                   หลายชนิด   สารที่ไดจากการยอยถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดสําหรับนําไปใชประโยชนตอรางกาย  อาหาร
                   บางสวนก็ผานตอไปสูกระเพาะจริงกอนที่ถูกลําเลียงไปยอยตอที่ลําไสเล็กและดูดซึมไปใชประโยชนตอไป

                   การพัฒนากระเพาะหมักของลูกโค


                          กระเพาะหมัก ( rumen ) ของลูกโคจะมีการพัฒนาเพื่อใหเปนสัตวกระเพาะรวมโดยสมบูรณ  และ
                   จะทําใหลูกสามารถใชอาหารหยาบไดเร็วขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ  เปนการลดตนทุนการผลิต  โดยลูกโคมี

                   อัตราการเจริญเติบโตตามปกติ    หมายถึงไดลูกโคที่หยานมที่แข็งแรง – สมบูรณ และโคหลังหยานมมีการ

                   เติบโตที่เหมาะสมสามารถผสมพันธุไดภายในเวลากําหนด (  ประมาณ 15 - 18  เดือน )  ซึ่งสิ่งเหลานี้เปน
                   จุดมุงหมายหลักในการเลี้ยงลูกโคนมทดแทน เนื่องจากกระเพาะหมักสวนหนา ( Recticulo - rumen ) ของ

                   ลูกโคจะพัฒนาไดดี   เนื่องมาจากลูกโคไดรับอาหารขนโดยเร็ว ( ตั้งแตสัปดาหที่ 2 ) และหญา เพราะอาหาร

                   ขนหลังจากตกสูกระเพาะหมัก         จะเริ่มมีการหมักพวกคารโบไฮเดรตในอาหารขนโดยจุลินทรียไดกรด
                   ไขมันที่ระเหยได ( Volatile fatty acid ) ที่สําคัญ 3 ชนิดคือ Acetic acid ,  Propionic acid และ Butyric acid
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37