Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          20



                   ที่อุณหภูมิ  20  องศาเซลเซียส )  หรือประมาณ  35  กรัม / ลิตร( อุณหภูมิประมาณ  35 องศาเซลเซียส )

                   เมื่อวัดหลังจากรีดนมน้ําเหลืองมาใหมๆ    โดยเครื่องมือที่เรียกวา  Colostrodoser   ซึ่งมีหลักการอานคา
                   เชนเดียวกับการหาความถวงจําเพาะของของเหลว       สาเหตุที่ตองใชนมน้ําเหลืองที่มีความเขมขนของ

                   ภูมิคุมกันมากกวา 50  กรัม / ลิตร  เพราะลูกโคสามารถกินนมน้ําเหลืองจํานวน  4  ลิตรไดหมดภายใน  24

                   ชั่วโมงซึ่งก็จะไดรับปริมาณภูมิคุมกันพอเพียงที่จะปองกันโรคถาหากลูกโคติดเชื้อโรค  ในระยะเดือนแรกที่
                   ลูกโคยังไมสามารถสรางภูมิคุมกันไดเอง       จากรายงานโดย  สมเพชร และ สหัทยา (2546 )  พบวา

                   ปริมาณภูมิคุมกันในนมน้ําเหลืองที่รีดไดมื้อแรกสําหรับโคนมพันธุโฮลสไตนมีคาเฉลี่ย  86.6 กรัม / ลิตรแต

                   มีแมโคเพียง  88  % ที่มีภูมิคุมกันในนมน้ําเหลืองมากกวา  50 กรัม/ ลิตร   ซึ่งในทางปฎิบัติถาไมมีอุปกรณ

                   สําหรับวัดก็สามารถสังเกตุดวยตาเปลาจากสี  และ  ความหนืดโดยนมน้ําเหลืองที่มีภูมิคุมกันสูงจะมีลักษณะ
                   สีคอนขางเหลือง    มีความหนืดสูง    และยังพบวามี    3   ปจจัยหลักที่มีผลตอปริมาณภูมิคุมกันในนม

                   น้ําเหลืองไดแกอายุแมโค  , ฤดูกาลที่แมโคคลอด  และ ปริมาณนมน้ําเหลืองที่รีดไดมื้อแรก   โดยแมโคที่มี

                   อายุมากจะมีภูมิคุมกันสูงกวาแมโคที่มีอายุนอยเพราะแมโคมีโอกาสสัมผัสกับโรคตางๆ  มากกวาแมโคที่มี
                   อายุนอย    แมโคที่คลอดลูกในฤดูฝน  และ  ปลายฤดูฝนเขาสูฤดูหนาวจะมีภูมิคุมกันสูงกวาที่คลอดในฤดู

                   รอนเพราะในฤดูฝนพื้นคอกโคและอากาศชื้น  แมโคมีโอกาสสัมผัสกับเชื้อโรคและปวยจึงสรางภูมิคุมกัน

                   มากกวา      สวนปจจัยสุดทายคือปริมาณนมน้ําเหลืองที่รีดไดมื้อแรกถารีดไดนอยกวา  8   กิโลกรัมจะมี
                   ภูมิคุมกันสูงกวาแมโคที่รีดนมน้ําเหลืองไดมากกวา          ดังนั้นการที่จะเลี้ยงลูกโคใหมีสุขภาพสมบูรณ

                   แข็งแรงตองเริ่มจากใหลูกโคไดกินน้ําเหลืองที่มีคุมกันสูง    และ  ถามีจํานวนมากพอก็สามารถเก็บใสถุง

                   พลาสติคแลวนําไปแชในหองแชแข็งซึ่งมีรายงานวาสามารถเก็บไดถึง 1  ปโดยภูมิคุมกันไมสูญเสีย    เพื่อ
                   นํามาเลี้ยงลูกโคตัวที่แมมีนมน้ําเหลืองที่มีภูมิคุมกันต่ํา      โดยกอนนํามาเลี้ยงควรนํามาแชในน้ําอุนไมเกิน

                   40° ซ เพื่อใหละลาย    แตหามนําไปตมใหอุณหภูมินมน้ําเหลืองเกิน  40 ° ซ เพราะจะทําใหภูมิคุมกันซึ่งเปน

                   โปรตีนเมื่อถูกความรอนสูงจะจับเปนกอนและสูญเสียคุณสมบัติในการเปนภูมิคุมกันแกลูกโค

                         ตารางที่  3 – 1 แสดงสวนประกอบของนมน้ําเหลืองที่รีดภายใน 3 มื้อแรกและน้ํานมปกติ


                          สวนประกอบ                          นมน้ําเหลือง                 น้ํานมปกติ

                                               รีดมื้อแรก    รีดมื้อที่ 2     รีดมื้อที่ 3

                                       ,
                          ของแข็งในน้ํานม %     23.9          14.1           13.6          12.9
                               ,
                          ไขมัน %               6.7           3.9            4.4           4.0
                                ,
                          โปรตีน %              14.0          5.1            4.1           3.1
                                      ,
                          น้ําตาลแลคโต็ส %      2.7           4.4            4.7           5.0
                          วิตามิน เอ , μg/dl    295           113            74            34
                          อิมมูโนโกลบูลิน, %    6.0           2.4            1.0           0.1


                          ที่มา.   Heinrich , A.J.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35