Page 12 -
P. 12

ิ
                                                ์
                                    ิ
                                                                              ิ
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ


                ธาตุอาหารที่เปนประโยชนจากเซลลยีสตซึ่งเจริญอยูบนอาหารของแมลง หรือเจริญอยูในทางเดิน
                อาหารของแมลงเอง เชน ทางเดินอาหารผึ้งพบยีสต Debaryomyces hansenii, Metschnikowia                        บทนำ

                gruessii, M. pulcherrima, Metschnikowia kunwiensis, Metschnikowia reukaufii, Starmerella bombi,

                Wickerhamiella bombiphila, Zygosaccharomyces rouxii เปนตน ในลำไสของแมลงหวี่แยกไดยีสต C.

                parapsilosis, Candida sonorensis, Diutina catenulata, Hanseniaspora guilliermondii, Pichia terricola,

                Saccharomycodes ludwigii เปนตน สวนยีสตที่แยกจากลำไสของปลวก เชน Candida blankii,

                Debaryomyces  hansenii,  Ogataea  pini,  Scheffersomyces  ergatensis,  Scheffersomyces

                segobiensis, Scheffersomyces shehatae, Scheffersomyces stipitis สำหรับลำไสของผีเสื้อพบยีสต

                Meyerozyma  carpophila,  Kurtzmaniella  quercitrusa,  Candida  sake,  Candida  zeylanoides,

                Hanseniaspora uvarum, Metschnikowia pulcherrima, Metschnikowia fructicola เป็นต้น (Phaff and

                Starmer, 1987; Spencer and Spencer, 1997; Stefanini et al. 2018)  ยีสตหลายชนิดพบอยูในดิน

                ชนิดตาง ๆ ที่มีความแตกตางกันทั้งองคประกอบทางเคมี ลักษณะทางกายภาพ ความชื้น พีเอช และ

                ตำแหนงทางภูมิศาสตร ยีสตที่พบบอยในดิน เชน สกุล Lipomyces, Debaryomyces,

                Schizoblastosporion, Cryptococcus ตัวอยางของยีสตที่แยกไดจากดิน เชน Monosporozyma

                aquatica,  Saturnispora  diversa,  Saturnispora  sekii,  Schwanniomyces  pseudopolymorphus,

                Wickerhamomyces anomalus ซึ่งเปนยีสตในไฟลัม Ascomycota และ Apiotrichum scarabaeorum,

                Curvibasidium pallidicorallinum, Papiliotrema laurentii, Rhodosporidiobolus ruineniae, Trichosporon

                asahii, Trichosporon coremiiforme ซึ่งอยูในไฟลัม Basidiomycota (Kumla et al. 2020; Phaff and

                Starmer 1987; Spencer and Spencer 1997)  สำหรับยีสตที่พบในน้ำนั้น แหลงน้ำที่ถือวาเปนแหลง

                ที่อยูที่แทจริงสำหรับยีสตคือน้ำทะเล ยีสตที่พบ เชน Kluyveromyces aestuarii, Metschnikowia sp.

                สวนในน้ำกรอยพบยีสต เชน Candida andamanensis, Candida laemsonensis, Diutina ranongensis

                (ชื่อเดิม Candida ranongensis), Kluyveromyces siamensis (Am-In et al. 2008; 2011; Phaff and

                Starmer 1987; Spencer and Spencer 1997)  นอกจากพบยีสตในแหลงที่อยูตามธรรมชาติหลาย

                แหลงแลว ยังอาจพบยีสตไดในสภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ตัวอยางเชน ลูกแปงซึ่งใชเปน

                กลาเชื้อแบบแหงสำหรับการผลิตอาหารหมักอาหารหมักพื้นเมืองบางชนิด พบยีสต ดังนี้

                Cyberlindnera fabianii (ชื่อเดิม Pichia fabianii), Hyphopichia burtonii (ชื่อเดิม Pichia burtonii), Pichia

                kudriavzevii,  Isabelozyma rhagii (ชื่อเดิม Candida rhagii), Nakaseomyces glabratus (ชื่อเดิม

                Candida glabrata), Saccharomyces cerevisiae, Torulaspora globose, Wickerhamomyces anomalus

                (ชื่อเดิม Pichia anomala), Yamadazyma mexicana (ชื่อเดิม Pichia mexicana) (Limtong et al. 2002)





                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม       3
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17