Page 11 -
P. 11

ิ
                                 ื
                                    ิ
                                             ิ
                                                ์
                                                                   ิ
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


           เกิดโดยละอองลอยในอากาศ มีสัตวเปนพาหะ และกิจกรรมของมนุษย (Fell and Kurtzman, 1996)
      บทนำ   แหลงที่อยูตามธรรมชาติของยีสตมีทั้งแหลงที่อยูบนบก (terrestrial habitat) แหลงที่อยูในน้ำ (aquatic


           habitat) ทั้งน้ำจืด น้ำกรอย และน้ำทะเล รวมทั้งแหลงที่อยูที่มีความรุนแรง (extreme habitat) เชน มี
                                                                                                        
           ความเค็มสูง มีความเย็นจัด แหลงที่อยูยีสตชอบ คือ พืช โดยพบยีสตไดทั้งที่ดอก ผล ใบ ลำตน และ

           ยางไม ทั้งนี้เพราะพืชนอกจากจะมีความสามารถในการสังเคราะหน้ำตาลและพอลิแซ็กคาไรดหลาย

           ชนิดแลว ยังสามารถสังเคราะหสารประกอบคารบอนชนิดอื่นอีกหลายชนิดทำใหมีซับสเตรตที่

           หลากหลายสำหรับการเจริญของยีสต นอกจากนั้นพืชยังใหเกลือแรชนิดตาง ๆ และธาตุอาหารอื่น ๆ

           ที่ยีสตตองการปริมาณเล็กนอย เชน วิตามินบางชนิดกับยีสต (Phaff and Starmer 1987; Spencer

           and Spencer 1997; Walker, 1998)  ยีสตซึ่งพบที่ดอกไม เชน Hannaella coprosmaensis,

           Metschnikowia  pulcherrima,  Metschnikowia  maroccana,  Moesziomyces  bullatus,  Rhodotorula

           mucilaginosa, Sporobolomyces roseus, Starmerella vitis, Wickerhamiella nectarea, Wickerhamiella

           natalensis (Čadež et al. 2020; Han et al. 2015; Vadkertiová et al. 2012; de Vega et al. 2017;

           2018) ยีสตที่พบบนผลไม  เชน Cystobasidium calyptogenae, Galactomyces candidus,

           Hanseniaspora guilliermondii, Hanseniaspora uvarum, Metschnikowia pulcherrima, Pichia kluyveri,

           Pichia kudriavzevii, Saccharomyces cerevisiae (Gava et al. 2017; Nasir et al. 2017; Vadkertiová

           et al. 2012) ยีสตที่พบบนใบพืชมีทั้งยีสตในไฟลัม Ascomycota และ Basidiomycota ตัวอยางสปชีส

           ในไฟลัม Ascomycota เชน Candida parapsilosis, Candida tropicalis, Cyberlindnera fabianii, Diutina

           (Candida)  rugosa,  Kodamaea  ohmeri,  Metschnikowia  lopburiensis,  Meyerozyma  caribbica,

           Meyerozyma guilliermondii, Wickerhamomyces anomalus สวนสปชีสในไฟลัม Basidiomycota เชน

           Dirkmeia  churashimaensis,  Hannaella  siamensis,  Hannaella  sinensis,  Kwoniella  heveanensis,

           Moesziomyces  aphidis,  Papiliotrema  flavescens,  Papiliotrema  japonica,  Papiliotrema

           rajasthanensis, Rhodosporidiobolus fluvialis, Rhodotorula taiwanensis, Sporobolomyces blumeae,

           Sporobolomyces carnicolor  (Into et al. 2020a; 2020b; Limtong and Nasanit 2017) แมนกระทั้ง

           ยางไมหลายชนิดก็ยังอาจพบยีสตได เชน Saccharomycodes ludwigii  พบเปนครั้งแรกจากยางไม

           โอค (Boundy-Mills et al. 2011) Ogataea chonburiensis พบเปนครั้งแรกจากยางตนมะมวง (Limtong

           et al. 2003) Ogataea falcaomoraisii (Morais et al. 2004) ยีสตบางชนิดมีความสัมพันธกับสัตว

           โดยอาจอยูรวมกันแบบที่ฝายหนึ่งไดรับประโยชนและอีกฝายหนึ่งไมไดรับประโยชนหรือโทษ

           (commensalism) และอาจอยูรวมกันแบบเปนปรสิต (parasite) เชน พบในลำไสของสัตวโดยไมทำ

           อันตรายตอสัตว ยีสตบางชนิดมีความสัมพันธกับแมลง โดยแมลงทำหนาที่เปนเพียงพาหะ

           แพรกระจายยีสตและไมไดประโยชนจากยีสต หรือแมลงนอกจากทำหนาที่เปนพาหะแลวอาจไดรับ



      2       บทนำ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16