Page 10 -
P. 10

ิ
                                                                              ิ
                                    ิ
                                                ์
                                 ื
                  โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                   ิ
                        บทนํา                                บทนำ                                                        บทนำ












                                                                                               สาวิตรี ลิ่มทอง

                           ยีสตเปนราที่มีการดำรงชีวิตเปนเซลลเดี่ยว สวนใหญเพิ่มจำนวนโดยการสืบพันธุแบบ

                ไมอาศัยเพศ (asexual reproduction) โดยการแตกหนอ (budding) มีนอยชนิดที่เพิ่มจำนวนโดย

                การแบงเซลลแบบฟสชัน (fission) มีทั้งชนิดที่พบเฉพาะการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศและชนิดที่พบ

                ทั้งการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศและการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) การสืบพันธุ

                แบบอาศัยเพศอาจเกิดโดยการสรางสปอรแบบมีเพศชนิดแอสโคสปอร (ascospore) ในแอสคัส

                (ascus) หรือเบซิดิโอสปอร (basidiospore) บนเบซิเดียม โดยสปอรแบบมีเพศไมไดอยูในสวนสราง-

                สปอร (fruiting body) (Spencer and Spencer 1997) ยีสตอยูในอาณาจักร (Kingdom) Fungi จำแนก

                เปน 2 ไฟลัม (phylum) คือ ไฟลัม Ascomycota และไฟลัม Basidiomycota โดยในแตละไฟลัม

                ประกอบดวยสกุลที่พบเฉพาะระยะที่มีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ (anamorphic state) ที่เรียกวา

                อะนามอรฟกจีนัส (anamorphic genus) และสกุลที่พบทั้งระยะที่มีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศและ

                สกุลที่มีระยะการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (teleomorphic state) ดวย ที่เรียกวา ทีลีโอมอรฟกจีนัส

                (teleomorphic genus) (Kurtzman et al. 2011) ยีสตสวนใหญเปนคีโมออรกาโนโทรฟที่แทจริง (strictly

                chemoorganotroph) (Walker, 1998) หรือแซโพรโทรฟ (saprotroph) มีความสัมพันธกับพืชหรือสัตว

                ที่มีชีวิตหรือสารอินทรียที่ไดจากพืชและสัตวที่ตายแลว โดยยีสตสามารถใชสารอินทรียเปนแหลง
                คารบอนไดอยางหลากหลาย เชน น้ำตาล (sugar) พอลิออล (polyol) กรดอินทรีย (organic acid)


                กรดไขมัน (fatty acid) ไฮโดรคารบอน (hydrocarbon) แอลกอฮอล (alcohol) พอลิเมอร (polymer)
                           ยีสตพบไดทั่วไปในแหลงที่อยู (habitat) ตาง ๆ ในธรรมชาติยีสต แตยีสตแตละชนิดหรือ


                แตละกลุมมีแหลงที่อยูที่จำเพาะ (specific habitat) (Phaff and Starmer 1987) การพบยีสตแตละ
                ชนิดในแหลงที่อยูนั้น ขึ้นอยูกับลักษณะทางสรีรวิทยาของยีสตชนิดนั้น ไดแก ความสามารถในการใช     


                สารประกอบบางชนิดและความสามารถในการเจริญในภาวะแวดลอมนั้น ๆ เชน การพบ Candida
                sonorensis ในเนื้อเยื่อของตนกระบองเพชร เนื่องจากยีสตชนิดนี้ใชสารโพรเพน-2-ออล (propan-2-
                                                                                
                ol) ซึ่งมีมากในเนื้อเยื่อตนกระบองเพชร การพบยีสตที่ชอบอุณหภูมิต่ำ (psychrophilic yeast) คือ

                Mrakia frigida ในดินที่แอนตารกติก ดังนั้นสารประกอบอินทรียที่ทำหนาที่เปนแหลงคารบอนและ

                ธาตุอาหารตาง ๆ และภาวะแวดลอมของแหลงที่อยูเหลานั้นจะรวมกันกำหนดชนิดของยีสตที่พบ

                นอกจากนั้นเนื่องจากยีสตไมสามารถเคลื่อนที่ได ดังนั้นการแพรกระจายของยีสตในธรรมชาติอาจ



                                                          การประยุกตใชยีสตเพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมยุคใหม       1
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15