Page 8 -
P. 8
ื
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
บทบรรณาธิการ
โรงสีข้าวเป็นธุรกิจหน่งท่บทบาทสาคัญบนห่วงโซ่อุปทานข้าวของไทยมาอย่างยาวนาน ท้งน ี ้
�
ั
ึ
ี
เพราะผลผลิตข้าวเปลือกท่เกษตรกรผลิตได้จะถูกส่งผ่านมายังโรงสีเพ่อการแปรรูปผลผลิตข้าวเปลือก
ี
ื
ให้เป็นข้าวสาร โรงสีจึงเป็นธุรกิจปลายนาบนโซ่อุปทานการผลิตข้าวเปลือก และขณะเดียวกันโรงส ี
้
�
้
เป็นหน่งในหน่วยธุรกิจบนโซ่อุปทานต้นนาของสินค้าข้าวสาร โดยจะเป็นผู้แปรรูปข้าวเปลือกให้เป็น
ึ
�
ี
ข้าวสาร รวมถึงทาหน้าท่ในการคัดเกรด บรรจุ การขนส่ง และกระจายสินค้าข้าวสารให้กับผู้ประกอบการ
�
ค้าส่ง ค้าปลีก และรวมถึงผู้ส่งออกในตลาดการค้าข้าวสาร การเติบโตของอุตสาหกรรมโรงสีข้าว นับว่า
�
ี
�
เป็นแรงหนุนท่สาคัญต่อการเติบโตและขยายตัวของเศรษฐกิจข้าวไทย จนทาให้ประเทศไทยเป็นหน่ง
ึ
ในประเทศผู้ส่งออกสินค้าข้าวที่ส�าคัญของโลก
เอกสารวชาการฉบบน เป็นการสงเคราะห์เนอหาจากรายงานการศกษาเรอง “การวิเคราะห์
ิ
ั
่
ื
ึ
ื
ั
ี
้
้
ุ
ุ
ี
่
ั
ั
ี
การเปลยนแปลงโครงสร้างอตสาหกรรมโรงสีและการปรบตวในยคเปลยนผ่าน” โดย ผู้ช่วย
่
ศาสตราจารย์ ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร
ึ
�
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซ่งได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสานักงานการวิจัย
ื
แห่งชาติ (วช.) ปี พ.ศ. 2565 ภายใต้สัญญาท่ N21A650133 มีเป้าหมายเพ่อวิเคราะห์ปัจจัย
ี
การเปล่ยนแปลงของโครงสร้างอุตสาหกรรมโรงสีข้าว การปรับตัวของผู้ประกอบการโรงสีในยุค
ี
ี
เปล่ยนผ่าน ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตามลักษณะการปรับตัวของโรงสีและปัจจัยท่มีผลต่อ
ี
�
�
�
ี
ประสิทธิภาพการดาเนินงานของโรงสี ตลอดจนจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่เหมาะสมกับโครงสร้าง
อุตสาหกรรมโรงสีในยุคปัจจุบัน
ิ
ิ
ื
ั
ิ
�
ิ
สานักประสานงาน “งานวจยเชิงนโยบายเกษตรและเสรมสร้างเครอข่ายงานวจยเชงนโยบาย”
ั
�
ี
�
เห็นว่าเอกสารฉบับน้ ได้นาเสนอข้อมูลท่เป็นประโยชน์สาหรับใช้ประกอบในการกาหนดนโยบาย
ี
�
ื
ี
และแนวทางเพ่อสนับสนุนพัฒนาธุรกิจโรงสีข้าวให้เป็นหน่วยธุรกิจท่มีประสิทธิภาพบนโซ่อุปทานสินค้า
ข้าวไทยให้แข่งขันได้อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต
ซ่งสานักประสานงานฯ ขอขอบคุณ ศาสตราจารย์ ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์ ผู้ทรงคุณวุฒ ิ
�
ึ
ี
ท่สละเวลาพิจารณาเน้อหาของเอกสาร และขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ปทุมนากุล
ื
และคณะ ท่ได้จัดทาสังเคราะห์ข้อความรู้จากรายงานวิจัยข้นเป็นเอกสารวิชาการฉบับน้ มา ณ โอกาสนี ้
ึ
ี
ี
�
บรรณาธิการ
6 สถาบันคลังสมองของชาติ