Page 7 -
P. 7
์
ิ
ิ
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ค�าน�าผู้เขียน
ี
โรงสีข้าวเป็นธุรกิจท่อยู่ในอุตสาหกรรมข้าวมาอย่างยาวนาน ถือเป็นกลไกสาคัญในโซ่อุปทานข้าว
�
ี
ึ
�
ของไทยซ่งมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดโซ่อุปทานข้าวจานวนมาก การเปล่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ภายนอกและภายในอุตสาหกรรมโรงสีข้าวส่งผลกระทบต่อโรงสีข้าวอย่างหลีกเล่ยงไม่ได้ ตลอดช่วง
ี
ี
ระยะเวลาท่ผ่านมาจึงมีท้งโรงสีข้าวท่ประสบความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจ และโรงสีข้าวท่ไม่
ั
ี
�
�
ี
ิ
ประสบความสาเรจจนต้องออกจากอุตสาหกรรมไป การเข้าใจถึงโซ่คุณค่าของธุรกจโรงสีข้าวจึงเป็น
็
�
สิ่งส�าคัญ เพื่อใหทราบถึงกิจกรรมในโซ่คุณค่าของโรงสีข้าวเพื่อเรียนรู้จากโรงสีข้าวที่สามารถปรับตัวให้
้
ก้าวผ่านสภาวะที่เปลี่ยนผ่านว่ามีการปรับตัวผ่านกิจกรรมในโซ่คุณค่าอย่างไร ประกอบกับรูปแบบการ
ื
ี
�
ปรับตัวและผลสาเร็จของการปรับตัวของโรงสีข้าวเป็นบทเรียนท่น่าสนใจให้กับธุรกิจการเกษตรอ่น ๆ
ในอนาคต เอกสารวิชาการฉบับนี้จึงเป็นการน�าเสนอข้อมูลดังกล่าว
เน้อหาในเอกสารประกอบด้วย 5 บท บทแรก ภาพรวมของอุตสาหกรรมโรงสีและแนวคิด
ื
ี
ี
ท่ใช้ในการศึกษา บทท่ 2 การวิเคราะห์โครงสร้างของอุตสาหกรรมโรงสีข้าวไทยภายใต้แนวคิด
ึ
แรงกดดันท้ง 5 ประการ และโซ่คุณค่าของโรงสีข้าวไทยซ่งเป็นการวิเคราะห์ในกิจกรรมหลักและ
ั
ี
่
ี
ี
ู
กจกรรมสนบสนน บทท 3 กรณศกษาของโรงสข้าวทมรปแบบการปรบตวแบบยดหย่น โดยเป็นการ
ุ
ื
ั
ั
ึ
่
ิ
ี
ุ
ั
ี
วิเคราะห์ภายใต้กิจกรรมต่าง ๆ ของโซ่คุณค่าและการปรับตัวเชิงพลวัตของโรงสีข้าวตัวอย่าง บทที่ 4
ี
กรณีศึกษาของโรงสีข้าวท่มีรูปแบบการปรับตัวแบบสอดคล้อง โดยเป็นการวิเคราะห์ภายใต้กิจกรรม
ต่าง ๆ ของโซ่คุณค่าและการปรับตัวเชิงพลวัตของโรงสีข้าวตัวอย่าง บทท่ 5 เป็นการเปรียบเทียบกิจกรรม
ี
ั
ต่าง ๆ ในโซ่คุณค่าของโรงสีข้าวตัวอย่างท้ง 5 แห่ง และเป็นการฉายภาพถึงรูปแบบโรงสีข้าวใน
อนาคต
ื
ี
ื
เอกสารเล่มน้สังเคราะห์เน้อหาจากงานวิจัยเร่อง “การวิเคราะห์การเปล่ยนแปลงโครงสร้าง
ี
ึ
อุตสาหกรรมโรงสีข้าว และการปรับตัวในยุคเปล่ยนผ่าน” ซ่งได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม
ี
จากส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยมีเป้าประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบการ
โรงสีข้าว ผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตร นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจ ได้ใช้เป็นแหล่งความรู้เกี่ยวกับ
ธุรกิจโรงสีข้าวต้งเต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อีกท้งเอกสารเล่มน้ยังสามารถนาไปใช้เป็นเอกสารอ่านประกอบ
ั
�
ั
ี
ในวิชาท่เก่ยวกับธุรกิจการเกษตรและเศรษฐศาสตร์เกษตรในหลากหลายประเด็น ผู้เขียนหวังว่า
ี
ี
ความรู้จากเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย
อัจฉรา ปทุมนากุล และคณะ