Page 85 -
P. 85
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
แผลหลุมในทางเดินอาหาร เลือดออก เยื่อเมือกทางเดินอาหารลอกหลุด มีไข้ ท้องเสีย ถ่ายเหลวปนเลือดเก่า
อาเจียน ปวดท้องมาก ท้องอืด และมีท้องมาน สุดท้ายจะช็อคแล้วเสียชีวิต
3. อาการทางระบบทางเดินหายใจ คล้ายเป็นหวัด มีไข้ ตัวสั่น ไอ เจ็บหน้าอก หายใจล าบาก เสียชีวิต
ภายใน 1-2 วัน
การป้องกัน
1. ฉีดวัคซีนให้แก่ กระบือ แพะ แกะ และช้างที่อายุตั้งแต่ 14 สัปดาห์ขึ้นไป และฉีดซ้ าทุกปี
2. กักแยกสัตว์ที่เคลื่อนย้ายเข้ามาเลี้ยงใหม่ ก่อนน าไปเลี้ยงร่วมฝูง
ข้อปฏิบัติเมื่อพบสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรค
1. รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อ าเภอทราบทันที
2. ห้ามเคลื่อนย้าย ผ่าซาก หรือช าแหละเนื้อ หรือหนังสัตว์ที่ตาย และระวังไม่ให้สัตว์อน เช่น สุนัข
ื่
แมวไปกัดกินซากสัตว์
3. แยกสัตว์ป่วยออกจากฝูง
4. กักสัตว์ที่ร่วมฝูงกับสัตว์ที่ป่วยหรือตาย และด าเนินการรักษาตามที่สัตวแพทย์ก าหนด
5. ใช้น้ ายาฆ่าเชื้อ เช่น ฟอร์มาลีน หรือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ 5-10% ราดบริเวณที่สัตว์นั้นตายรวมถึง
ท าลายเชื้อบริเวณที่เลี้ยงสัตว์ และอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์
6. ท าลายซากโดยการเผาทั้งตัวหรือฝังให้ลึกประมาณ 2 เมตร แล้วโรยปูนขาวทับ
มาตรการควบคุมโรคของกรมปศุสัตว์
1. เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ด าเนินการสอบสวนหาสาเหตุของโรคร่วมกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานกระทรวง
สาธารณสุขเพื่อค้นหาผู้ป่วย และสัตว์ป่วยเพิ่มเติม
2. ด าเนินการควบคุมโรคโดยท าลายซากสัตว์อย่างถูกต้องตามระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการปฏิบัติ
เมื่อมีโรคระบาดแอนแทรกซ์ หรือสงสัยว่ามีโรคระบาดแอนแทรกซ์ พ.ศ.2536
3. แยกสัตว์ป่วยและท าการรักษาพยาบาลสัตว์ป่วย หรือสัตว์ที่สงสัยว่าได้รับเชื้อ
4. ท าการฉีดวัคซีนให้แก่ และกระบือรอบจุดเกิดโรคในรัศมี 5 กิโลเมตร
5. ควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือท าลายสัตว์ในกรณีที่มีการระบาดอย่างรุนแรง
6. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
กรณีที่สงสัยว่าสัตว์ป่วยด้วยโรคแอนแทรกซ์ ห้ามผ่าซาก
5. โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease, FMD)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส เอฟ เอม ดี (FMD) ที่พบในประเทศไทยมี 3 ไทป์ คือ โอ (O) เอ (A) และเอเชียวัน
็
(Asia I) เชื้อทั้ง 3 ไทป์นี้ จะท าให้สัตว์ป่วยแสดงอาการเหมือนกัน แต่ไม่สามารถให้ภูมิคุ้มกันต่างไทป์ได้
กล่าวคือถ้าฉีดวัคซีน เอฟ ไทป์ เอ ให้ หรือสัตว์เคยป่วยเป็นโรคเอฟ ไทป์ เอ มาก่อน สัตว์จะมีภูมิคุ้มกนเฉพาะ
ั
ต่อโรคเอฟ ไทป์ เอ เท่านั้น แต่จะไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคเอฟไทป์ โอ หรือ ไทป์ เอเชียวัน ดังนั้นหากมีโรคเอฟ
ไทป์ โอ หรือเอเชียวันระบาดสัตว์ก็อาจจะติดโรคได้ โรคนี้มีระยะฟักตัว ประมาณ 2-8 วัน
ื
78 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ