Page 89 -
P. 89

์
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                               ื
                                  ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ

               8. พยาธิภายใน
                       พยาธิภายในที่ท าอนตรายในลูกกระบือมากคือพยาธิตัวกลม ได้แก่ พยาธิไส้เดือนหรือพยาธิเส้นด้าย
                                      ั
               นอกนั้นเป็นพยาธิปากขอ ในกระบือที่โตแล้วจะเป็นพวกพยาธิใบไม้ในตับ ซึ่งคนก็เป็นโรคนี้ด้วย

                       8.1 พยาธิตัวกลมในลูกกระบือ
                                                                                     ั
                       โรคนี้เป็นได้ทั้งลูก และลูกกระบือ เป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้ลูกกระบือมีอตราการตายจ านวนมาก
               ในแต่ละปี การติดต่อ เกิดจากการกินตัวออน หรือไข่พยาธิที่ออกมาจากตัวที่เป็นโรคเข้าไปบางชนิดติดต่อทาง
                                                  ่
               สายรกหรือน้ านมแม  ่

                       อาการ  โรคพยาธิโดยทั่วไปจะมีอาการท้องเสีย ขี้เหลว อาจมีสีขาวหรือสีเทาและมีกลิ่นเหม็น
               ลูกกระบือจะเบื่ออาหาร อาจมีอาการไอ หายใจถี่ จะผอม แคระ แกรน ผิวหนังหยาบ ขนหยอง ลูกกระบือ
               มักจะตายในช่วงอายุ  3-4  สัปดาห์
                       การป้องกันและรักษา บางครั้งลูกกระบือจะตายกะทันหันทั้ง ๆ ที่อวนสมบูรณ์ แข็งแรงดีไม่มีอาการ
                                                                               ้
               เจ็บไข้ การป้องกันจงเป็นวิธีที่ดีที่สุด
                       1. เลี้ยงกระบือในคอกที่สะอาด ควรท าการยกพน หมั่นท าความสะอาด ก าจัดขยะ และขี้กระบือ
                                                                ื้
               ออกไป ที่ใส่น้ าและหญ้าควรสะอาดและเปลี่ยนทุกวัน

                                                                                        ี
                       2. ควรท าการถ่ายพยาธิตัวกลมตั้งแต่ลูกกระบืออายุ 3 อาทิตย์ และถ่ายซ้ าอกเมื่ออายุ 6 อาทิตย์
               หากเป็นพนที่ที่มีพยาธิเหล่านี้มากควรท าการถ่ายพยาธิทั้งฝูง 3 เดือนจนกว่าจะแน่ใจว่าที่นี่ไม่มีพยาธิเหล่านี้
                        ื้
               หลงเหลืออยู่แล้ว เนื่องจากกระบือตัวโตจะมีความทนต่อการติดโรคพยาธิมากขึ้นจนไม่แสดงอาการอะไรเลย
               แต่พยาธิที่อยู่ในสัตว์จะมีการเจริญเติบโตออกไข่ละเป็นตัวออนหรือผ่านรกและนมแม่ แพร่ไปยังลูก
                                                                      ่
               ลูกกระบือที่จะเกิดใหม่ในฝูงได้อีกไม่สิ้นสุดหากไม่กาจัดออกไปให้หมดจากฝูงหรือหมู่บ้าน ยาที่ใช้ได้ผลเป็นพวก

               ปิเปอร์ราซีน เลวามิโซล อัลเบนดาโซล คอนดูราท พานาคัวร์ เนมาแฟกซ์ รินทัล
                      8.2 พยาธิใบไม้ในตับกระบือ
                       พยาธิใบไม้ในตับเป็นพยาธิที่ร้ายแรง อาศัยอยู่ในเนื้อตับ ท่อน้ าดี และถุงน้ าดี ขณะเมื่อยังมีชีวิตอยู่

              จะมีลักษณะคล้ายใบไม้ยืดหดตัวได้ ตอนต้นของล าตัวกว้างกว่าตอนปลายล าตัว จะกว้างประมาณ 1 ซม.
              ยาวประมาณ 3-7 ซม. กระบือในประเทศไทยเป็นพยาธิใบไม้ประมาณ 40 – 50% และสามารถติดต่อคนได้ด้วย
                       การติดต่อ ไข่ของพยาธิใบไม้ในตับจะออกมากับอจจาระกระบือ  ในการเจริญเติบโตจากไข่เป็นตัว
                                                                ุ
              อ่อนระยะต่างๆ จ าเป็นต้องมีหอยน้ าจืดชนิดหนึ่ง (หอยคัน) เป็นตัวกลาง ในบริเวณที่มีน้ าและอณหภูมิพอเหมาะ
                                                                                            ุ
              ไข่จะฟกเป็นตัวออน และว่ายไปไชอยู่ในหอยคันประมาณ 5-7 สัปดาห์ แล้วเปลี่ยนรูปร่างเป็นลักษณะต่างๆ
                    ั
                            ่
              ในที่สุดจะมีลักษณะคล้ายลูกกบ แต่ขนาดเล็กมากว่ายออกมาจากหอยเกาะตามใบหญ้า ต้นข้าว และพืชผักในน้ า
              และเห็นเป็นจุด ๆ สีน้ าตาลอ่อนคล้ายไข่ปลา กระบือเป็นพยาธิใบไม้ในตับ โดยกินหญ้าหรือฟางที่มีพยาธิตัวออน
                                                                                                       ่
              เข้าไป พยาธินี้จะไชเข้าไปเจริญเติบโตเป็นตัวแก่ในตับซึ่งจะกินเวลาประมาณ 32 เดือน ในคนก็ติดพยาธินี้ได้

                       อาการ อาการไชของตัวออนไปยังตับจะท าให้ตับอกเสบ ท าลายเนื้อตับและท าให้ตับแข็งเมื่อตัวแก่
                                                                 ั
                                            ่
                                                                                       ุ
                                                     ั
              อาศัยอยู่ในท่อและถุงน้ าดี ก็จะท าให้เกิดการอกเสบลอกหลุด และเกิดเป็นก้อนนิ่วขึ้นอดตันทางเดินของน้ าดี
                                                                                                     ่
              สัตว์จะมีอาการเบื่ออาหาร การย่อยอาหารไม่ปกติท าให้เกิดท้องอืดบ่อย ๆ ซูบผอมลงเรื่อย ๆ อ่อนเพลียไมมีแรง
              ท างาน ท้องผูกหรือท้องเดินก็ได้ ในรายที่เป็นมาก ๆ จะตาย กระบือที่ให้นมจะท าให้น้ านมลด จึงท าให้เกิดความ
              เสียหายแก่เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก  และเป็นอันตรายต่อสุขภาพของคน
                       การป้องกันและการรักษา
                       1. การควบคุมและป้องกัน ต้องพยายามก าจัดหอยคัน ซึ่งเป็นตัวกลางในการเจริญเติบโตของพยาธิ

              ชนิดนี้ เช่น การเลี้ยงเป็ด


                       ื
               82 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94