Page 87 -
P. 87
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
ิ
์
ิ
ฉีดวัคซีนตามโปรแกรมอย่างสม่ าเสมอตามก าหนดเวลา เพอให้สัตว์มีภูมิคุ้มกันโรคได้ ซึ่งจะต้องใช้
ื่
ุ้
เวลาประมาณ 21 วัน หลังการฉีดวัคซีน จึงจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้เต็มที่ถึงระดับที่คมโรคได้ แต่ถ้าเป็นลูก
สัตว์ หรือสัตว์ที่ได้รับการฉีดวัคซีนครั้งแรก จะต้องฉีดวัคซีนครั้งที่สองซ้ า หลังจากได้รับครั้งแรกประมาณ
1 เดือน จึงจะกระตุ้นให้คุ้มโรคสูงพอที่จะคุ้มโรคได้
ต้องรู้วิธีการในการเก็บรักษาและการใช้วัคซีนนั้นอย่างถูกต้อง โดยป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดดและเก็บไว้
ในที่อุณหภูมิ 4 C
ภูมิคุ้มกันฝูงสัตว์ (Herd Immunity) หมายถึงสัดส่วนของสัตว์ในฝูงที่มีภูมิคุ้มกันใน ระดับที่คุ้มโรคได้
ซึ่งจะต้องอยู่ในระดับ 80 เปอร์เซ็นต์ จึงจะสามารถป้องกันการเกิดและการแพร่ระบาดของโรคได้ ดังนั้น
ยิ่งปริมาณสัตว์ที่ได้รับวัคซีนมากระดับภูมิคุ้มกันโรคในฝูงสัตว์ก็จะสูงตามไปด้วยเมื่อได้รับเชื้อสัตว์จะแสดง
อาการเจ็บป่วยหรือไม่นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับภูมิคุ้มกันโรค ที่สัตว์มีอยู่เพยงอย่างเดียว แต่ยังขึ้นอยู่กับความ
ี
รุนแรง และปริมาณของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกายสัตว์ด้วย ร่างกายสัตว์ต้องมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ได้รับอาหารที่มี
คุณภาพด้วยจึงจะสามารถ ตอบสนองในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้เต็มที่
6. โรคท้องอืด
โรคท้องอด หมายถึง สภาพที่มีก๊าซซึ่งเกิดจากการหมักของอาหารในกระเพาะไม่สามารถระบายออก
ื
ได้จึงเกิดการสะสมอยู่ในกระเพาะของกระบือ โดยปกติแล้วในร่างกาย จะมีก๊าซเหล่านี้อยู่ไม่นานนัก และ
ร่างกายของสัตว์ก็สามารถก าจัดออกไปได้ในกรณที่เกิดท้องอืด จะสังเกตจากที่สวาปด้านซ้าย
ี
สาเหตุ ส่วนใหญ่มักเกิดจาก
1. เกิดจากการกินหญ้าออนหรือพชกระกูลถั่วบางชนิดเข้าไปจ านวนมาก ซึ่งพวกนี้จะเป็นปัจจัยท าให้
่
ื
เกิดก๊าซจ านวนมาก ซึ่งมักจะพบมากตอนช่วงต้น ๆ หน้าฝน ซึ่งหญ้าอ่อนเริ่มงอกงาม
2. เกิดจากการอดตันในส่วนต้นของทางเดินอาหารระหว่างปากและกระเพาะ เช่น การที่กินพวกลูก
ุ
กระโดน ซังข้าวโพด ถุงพลาสติก กระดาษ กระดูก รก หรือผลไม้ต่าง ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะไปอดที่หลอดอาหาร
ุ
ท าให้ไม่สามารถขับก๊าซออกมาได้
3. ป่วยด้วยโรคอน ๆ เช่น ไข้น้ านม บาดทะยัก ฯลฯ ซึ่งโรคเหล่านี้จะท าให้กล้ามเนื้อของกระเพาะ
ื่
หยุดบีบตัว ไม่ขับก๊าซออกมา
4. การที่กระบือนอนอยู่ข้างเดียวเป็นเวลานาน เช่น การที่เจ็บขา หรือไม่รุนแรง ฯลฯ ท าให้เกิดท้องอด
ื
ขึ้นได้
อาการ
1. อาการแรกเกิด ช่องท้องขยายใหญ่ โดยเฉพาะสวาปด้านซ้าย สัตว์จะกินหญ้าลดลงจากปกติหรือ
อาจหยุดกินเลย ถ้าเป็นแม่ที่ก าลังเลี้ยงลูก น้ านมจะลด อจจาระเหนียวหรือผูก ซึม การบีบตัวของกระเพาะ
ุ
ในระยะแรก ๆ จะเร็ว แต่ผลสุดท้ายกระเพาะจะเมื่อยล้าจนขั้นสุดท้ายจะอยู่ตัว
2. อาการท้องอดอย่างรุนแรง สัตว์จะกระวนกระวายเพราะเจ็บปวด เตะท้อง และหันมามองท้อง
ื
บ่อย ๆ ต่อมาอาจนอนลงหอบ หายใจแทนทางปาก น้ าลายไหล ลิ้นห้อย ถ้าสัตว์แสดงอาหารเหล่านี้ แสดงว่า
อยู่ในขั้นอันตรายมาก ถ้าไม่รีบแก้ไขสัตว์จะตายได้
3. สัตว์บางตัวไม่มีอาการเด่นชัด และจะล้มลงทันที ท้องค่อย ๆ อืดขึ้น ต้องแก้ไขโดยด่วนเช่นกัน การ
ตายของสัตว์จะเนื่องมาจากก๊าซที่เกิดขึ้นจะขัดขวางการท างานของหัวใจและโลหิตเป็นพิษเนื่องจากก๊าซถูกดูด
ซับเข้าสู่กระเพาะ
ื
80 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ