Page 61 -
P. 61

์
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                  ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื

                             - พื้นโรงเรือนเป็นพื้นเรียบ ไม่ลื่น โดยอาจเป็นคอนกรีต ดินหรือทรายอัดแน่น พื้นโรงเรือนควรสูง
                                             ี

               กว่าพื้นที่รอบข้างและมีความลาดเอยงสามารถทาความสะอาดและจัดการได้โดยสะดวกสามารถระบายน้ าได้ดี
               เพอให้น้ าล้างคอกและปัสสาวะไหลลงท้ายคอก ส่วนด้านท้ายคอกควรมีร่องน้ าเพอรวมน้ าให้ไหลไปในทิศทาง
                 ื่
                                                                                  ื่
                                   ั
               เดียวกัน และไหลลงจุดพก กรณีเป็นพนคอนกรีต ควรท าพื้นหน้าคอนกรีตให้หยาบหรือเซาะร่อง ป้องกันควายลื่น
                                              ื้
               หากใช้วัสดุรองพน เช่น แผ่นยาง แกลบ ควรมีการท าความสะอาด หรือเปลี่ยนวัสดุรองพนในระยะเวลา
                                                                                             ื้
                              ื้
               ที่เหมาะสม
                             - รางหรือภาชนะใส่อาหารและน้ าส าหรับควาย ท าด้วยวัสดุที่ท าความสะอาดง่ายไม่ก่อให้เกิด
               อันตรายต่อตัวสัตว์
                                                                 ี
                             - รางหรือภาชนะใส่อาหารและน้ ามีปริมาณเพยงพอกับขนาด อายุ และจ านวนควายวางอยู่ใน
               ต าแหน่งที่เหมาะสมเพื่อให้ควายกินอาหารและน้ าได้สะดวก

                                            ื่
                             - มีซองบังคับสัตว์เพอความสะดวกและปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ในการเจาะเลือด เพอตรวจ
                                                                                                    ื่
               สุขภาพ การฉีดวัคซีน ถ่ายพยาธิ การรักษาโรค การผสมเทียม การท าเครื่องหมายประจ าตัวสัตว์ หรือตรวจการ
               ตั้งท้อง เป็นต้น


               2. การจัดการฟาร์ม
                       2.1 มีเอกสารแสดงรายละเอียดการปฏิบัติงานในฟาร์มที่ส าคัญ ดังนี้
                             - แผนการผสมพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์

                             - การจัดการอาหารให้ควายชนิดต่างๆ ทั้งอาหารข้น และอาหารหยาบ
                             - แนวทางปฏิบัติในการจัดการด้านสุขภาพ เช่น แผนการให้วัคซีน แนวปฏิบัติเมื่อควายป่วย
                             - แผนและวิธีการท าความสะอาดโรงเรือนและพื้นที่ฟาร์ม และแนวทางการจัดการสิ่งปฏิกูล เช่น
               มูลสัตว์ น้ าทิ้ง
                       2.2 การจัดการอาหารส าหรับควายเนื้อ

                             - จัดให้มีอาหารที่เหมาะสมกับความต้องการของควาย โดยจัดหาอาหารหยาบหรืออาหารข้นให้มี
               ปริมาณที่เหมาะสม รวมทั้งมีโภชนะ เช่น โปรตีนและพลังงาน ที่เพียงพอต่อความต้องการของควาย
                             -  กรณีที่ใช้อาหารส าเร็จรูป ต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพ

               อาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 เพื่อให้มั่นใจว่าได้อาหารสัตว์ที่มีคณภาพ มีความปลอดภัย ไม่หมดอายุ ไม่มีการผสมยา
                                                              ุ
               สัตว์หรือสารเคมีต้องห้ามลงในอาหารสัตว์ และให้ตรวจสอบคุณภาพอาหารควายทางกายภาพในเบื้องต้น เช่น
               ภาชนะบรรจุอาหารสัตว์ไม่ฉีกขาด แตก ช ารุด ฉลากมีเลขทะเบียนถูกต้อง อาหารต้องไม่หมดอายุ ทั้งนี้ก่อนน า
               อาหารไปเลี้ยงควายควรตรวจสอบอาหารสัตว์ หากพบว่ามี สี กลิ่นที่ผิดปกติ หรือจับตัวเป็นก้อน ไม่ควร

               น ามาใช้เลี้ยงควาย
                             - ในกรณีที่ผสมอาหารเองในฟาร์ม วัตถุดิบที่ใช้หรือสิ่งที่เติมในอาหารต้องมีคณภาพและปลอดภัย
                                                                                         ุ
               ห้ามใช้สารต้องห้ามตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558
                             - การผสมยาสัตว์ในอาหารและน้ าเพอรักษาโรค อาจก่อให้เกิดผลตกค้างในผลิตผลจากสัตว์ ซึ่ง
                                                         ื่
               อาจมีผลต่อ สุขภาพทั้งคนและสัตว์ ในกรณีที่จ าเป็นต้องผสมสารเคมีหรือยาลงในอาหารสัตว์ ต้องอยู่ภายใต้
               การก ากับดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม และให้มีพื้นที่เก็บอาหารสัตว์ผสมยาดังกล่าวแยกออกจากอาหาร
               ทั่วไปและมีการบ่งชี้เพื่อป้องกันความผิดพลาดจากการใช้








                       ื
               54 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66