Page 65 -
P. 65
ิ
ื
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
5.1 ดูแลความให้มีความเป็นอยู่ที่สบาย โดยมีการตรวจสอบสุขภาพและสวัสดิภาพควายอย่างน้อยวัน
ละ 1 ครั้ง ตรวจสอบการกินอาหารและน้ าของควายว่าปกติหรือไม่ หากควายป่วย บาดเจ็บ พการ ให้แยก
ิ
ออกมาเพอดูแลรักษาอย่างเหมาะสม หรือมีเหตุจ าเป็นต้องคัดทิ้ง ให้ปฏิบัติอย่างเหมาะสมเพอมิให้เกิดความ
ื่
ื่
ทุกข์ทรมาน
ื้
5.2 มีพนที่เลี้ยงปล่อยภายนอกโรงเรือนโดยควรจัดให้มีพนที่ลานโล่งและมีต้นไม้หรือร่มเงา
ื้
ื่
เพอให้ควายได้แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ เนื่องจากผิวหนังของควายมีสีด า หนา และต่อมเหงื่อน้อย
ื่
ท าให้ควายมีปัญหาในเรื่องการระบายความร้อนในร่างกาย จึงต้องมีวิธีการเพอลดอณภูมิของร่างกายควาย
ุ
เช่น การให้ควายลงแช่ปลัก การใช้สเปรย์พนน้ า หรือการอาบน้ าให้ควาย ท าให้ควายไม่เครียด มีผลท าให้
่
สุขภาพแข็งแรง
6. สิ่งแวดล้อม
6.1 ก าจัดหรือจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย และมูลควาย ด้วยวิธีที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ
เช่น การฝัง การเผา ท าปุ๋ยหมัก ท าเชื้อเพลิง เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
6.2 กรณีปล่อยน้ าที่ใช้ในฟาร์มออกสู่แหล่งน้ าสาธารณะ ให้บ าบัดน้ าเสียอย่างถูกต้อง หากเกิดโรค
ระบาดในฟาร์มต้องฆ่าเชื้อและบ าบัดน้ าเสียจากโรงเรือนหรือฟาร์มก่อนปล่อยหรือระบายออกนอกฟาร์ม
เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อกระจายสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
6.3 กรณีมีขยะติดเชื้อ เช่น ขวดยา ขวดวัคซีน เข็มฉีดยา ให้แยกท าลายและก าจัดด้วยวิธีที่ถูกต้อง
เช่น การฝัง หรือเผา ภายใต้การก ากับดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม
7. การบันทึกข้อมูล
7.1 ให้บันทึกข้อมูล การจัดการด้านการผลิต บุคลากร การท าความสะอาดและบ ารุงรักษาและการ
ื่
ควบคุมป้องกันและบ าบัดโรคสัตว์ เพอให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาหารปลอดภัย ในด้านการตามสอบ
ของกระบวนการผลิต ฟาร์มควายจึงต้องมีการบันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติงานในขั้นตอนที่ส าคัญในการจัดการ
ฟาร์มที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ ผลผลิต และการควบคุมโรค เพอเป็นหลักฐานในการท างานแต่ละขั้นตอนว่า
ื่
ถูกต้องตามวิธีปฏิบัติที่ก าหนดไว้หรือไม่ นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์หาสาเหตุที่มาของปัญหา
หรือข้อผิดพลาดในกระบวนการผลิต ส าหรับปรับปรุงให้ดีขึ้น ต้องมีการบันทึกข้อมูล ได้แก ่
ั
7.1.1 บันทึกการจัดการด้านการผลิตสัตว์ เช่น ทะเบียนประวัติควาย ข้อมูลการสืบพนธุ์ การตรวจรับ
อาหารส าเร็จรูปหรือวัตถุดิบอาหารสัตว์
7.1.2 บันทึกด้านบุคลากร เช่น ข้อมูลการอบรมของบุคลากร ข้อมูลการตรวจสุขภาพประจ าปี
การจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
7.1.3 บันทึกการท าความสะอาดและฆ่าเชื้อภายในฟาร์ม การบ ารุงรักษาโรงเรือนและอุปกรณ์
7.1.4 บันทึกการควบคุมป้องกันโรคและบ าบัดโรคสัตว์ เช่น บันทึกบุคคลเข้า-ออกฟาร์ม ข้อมูลการ
ใช้ยา วัคซีน สารเคมี รวมถึงใบสั่งยาสัตว์ ใบมอบหมายการใช้ยา และใบสั่งผสมยาในอาหารสัตว์เพื่อการรักษา
7.2 ให้เก็บรักษาบันทึกเป็นเวลาอย่างน้อย 3 ปี กรณีที่ผลิตผลมีปัญหาภายหลัง ข้อมูลดังกล่าวจะ
เป็นประโยชน์ในการสอบทานให้ทราบถึงที่มาของปัญหาได้ ทั้งนี้เกษตรกรอาจเก็บเอกสารไว้นานกว่า 3 ปี
เพื่อประโยชน์ในการจัดการด้านการผลิตหรือปรับปรุงพันธุ์
ื
58 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ