Page 125 -
P. 125

ุ
                                              ์
                                                 ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                  ิ
                               ื
                                                                             ั
                                           ิ
                                                             ิ
                                                                                                           119

                       (8) ใช:เวลาในการวิเคราะหQพิจารณาสิ่งที่ได:ตัดสินใจครั้งแรกอยEางรอบคอบอีกครั้งกEอนที่จะยืนยันการตัดสินใจนั้น

                       ข:อแนะนำสำหรับกลุEมที่เสี่ยงตEอการคิดตามกลุEม ดังนี้
                      (1)  กEอนที่จะมีการพิจารณาประเด็น ควรกำหนดให:มีผู:กำกับดูแลและควบคุมจากภายนอก ซึ่งอาจจะอยูEใน

                                                                                  :
                           รปแบบคณะกรรมการทจะทำหนาทกระตนใหสมาชกระวงในเรองการอางเหตผลเขาขางตวเองและการรบร     ู:
                                                              :
                                                                                                           ั
                                                    :
                                                      ่
                                                      ี
                                                                   ิ
                                             ่
                                             ี
                                                                                                ั
                                                                                             :
                                                           :
                                                                                           :
                                                                                       ุ
                                                                       ั
                                                                           ่
                            ู
                                                                           ื
                                                           ุ
                           ที่ขาดความเที่ยงตรง
                      (2)  กระตุ:นใหสมาชิกกลุEมแสดงความคิดเห็นแทนที่จะเก็บงำความคิดเห็น มีการตั้งคำถาม ข:อสงสัยแทนที่จะ
                                   :
                           ยอมรับโดยทันที
                      (3)  กระตุ:นให:มีการแสดงความคิดเห็นคัดค:านการตัดสินใจ เพื่อชEวยให:กลุEมได:พิจารณาผลกระทบของทางเลือก
                           อยEางรอบด:านมากขึ้น
                                                                                                            ็
                      (4)  สร:างความสมดุลระหวEางความเห็นพ:องต:องกันกับหลักเสียงสEวนใหญEในกลุEม กลุEมไมEจำเปนต:องมีความเหน
                                                                                                U
                           พ:องต:องกัน แตEใช:หลักเสียงสEวนใหญในการตัดสินใจแทน เนื่องจากความเห็นพ:องต:องกันต:องให:สมาชิกทก
                                                       E
                                                                                                            ุ
                           คนเห็นด:วย ทำให:เกิดความรู:สึกกดดันที่จะต:องยินยอมและแสดงความเห็นในแบบเดียวกัน จนทำให:เกด
                                                                                                            ิ
                           ภาพลวงตาความเปUนเอกภาพของกลุEม

               ทฤษฎีการบรรจบกันของสัญลักษณ@ (Symbolic Convergence Theory)

                       ทฤษฎีการบรรจบกันของสัญลักษณ (Symbolic Convergence Theory) เปUนทฤษฎีการสื่อสารที่พัฒนาขึ้นโดย
                                                  Q
               Ernest Bormann ศาสตราจารยQแหEง University of Minnesota ในป ค.ศ.1972 โดยมีการนำเสนอครั้งแรกใน
                                                                         Å
               Quarterly Journal of Speech เพื่อเปUนกรอบการศึกษากระบวนการพลวัตของการแบEงปiนความจริงทางสังคม (Social
                                                                               E
                                                                                 i
                                                                    Q
                                                                                                            ุE
                                                                       U
                                                                                    ิ
                                                        ั
                                 ื
                                              ี
               reality)  ในกลEม การส่อสารตามทฤษฎการบรรจบกนทางสญลกษณ เปน “การแบงปนจนตนาการ (Fantasies) ของกลม
                           ุ
                                                                ั
                                                             ั
                     :
                                                                                                            ั
               ท่ทำใหเกิดการบรรจบกันทางสัญลักษณ” จินตนาการในทนี้เปนการตีความเหตุการณอยEางสร:างสรรคQ สEวนการบรรจบกน
                 ี
                                                            ี่
                                              Q
                                                                U
                                                                                 Q
               ของสัญลักษณQเกิดขึ้นเมื่อโลกทางสัญลักษณQของบุคคลโน:มเข:าใกล:กันมากขึ้นหรือทับซ:อนกัน อีกนัยหนึ่ง คือ การที่กลม
                                                                                                            ุE
               บุคคลมีความคิดคล:ายกันในการสนทนาเกี่ยวกับประเด็น โดยสามารถเชื่อมโยงประเด็น ประสบการณQ และสถานการณQท ี่
               คล:ายคลึงกันได: ปรากฏการณQนี้ เรียกวEา การบรรจบกันทางสัญลักษณQ ซึ่งสEงผลให:สมาชิกกลุEมเชื่อมเข:าหากัน และกลุEมม ี
               ความผูกพัน (Cohesiveness) ระหวEางสมาชิก การบรรจบกันทางสัญลักษณQเปUนปiจจัยสำคัญของการเกิดความผูกพันใน
               กลุEม
                                                                                                            ึ
                       การแบEงปiนจินตนาการในกลมผEานปฏิสัมพันธQหรือการสื่อสารทำให:เกิดการสร:างสรรคQและแบEงปiนจิตสำนก
                                              ุE
               (Consciousness) และพัฒนาความจริงทางสังคมรEวมกันของกลุEม จิตสำนึกของกลุEม (Group consciousness) จะมั่นคง
               แข็งแรงมากขึ้นถ:าสมาชิกมีการสื่อสารแบEงปiนแกEนจินตนาการและเรื่องเลEารEวมกัน จินตนาการรEวมกันของสมาชิกจะทำให :
               กลุEมมีความเหนียวแนEนผูกพัน ซึ่งเกิดขึ้นจากการมีอารมณQ แรงจูงใจ และความหมายรEวมกันของสมาชิก
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130