Page 13 -
P. 13
ิ
ิ
ั
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
12
่
ธรกิจทีพักแรมทีเกาแกทีสุดในโลกมีขึนในสมัยกรีกและโรมันโบราณ โดยได้มีการสร้างทีพักแรม ไว้
่
ุ
่
่
่
้
่
่
่
้
บริการแกนักเดินทาง ทั้งนี ประวัติศาสตร์ทีพักแรมที่เกาแกที่สุดในโลกมีขึนในสมัยกรีกและโรมันโบราณ โดยได้มี
่
้
่
่
่
่
การสร้างทีพักแรมไว้บริการแก นักเดินทาง ในสมัยนั้นยังไม่มีค าว่า โรงแรม หรือ Hotel ตอมาในยุคหลังราว
่
่
้
่
ศตวรรษที 16 ขึนจากค าในภาษาฝรั่งเศส ซึงหมายถึงคฤหาสน์หรือทีพักส าหรับคนร ่ารวย หรือมีชื่อเสียง
ส่วนธรกิจการเดินทางทองเทียวในอดีต มีหลักฐานการเดินทางทั้งทางบกและทางน ้าการเดินทางทางน ้า
ุ
่
่
ส่วนใหญเปนการเดินทางทางทะเล ตั้งแตสมัย 1,000 ปล่วงมาแล้ว และยังคงตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี ้
ี
็
่
่
่
่
่
ตามหลักฐานที่ปรากฏได้แสดงถึงการเดินทางทองเทียวทางบกของคนโบราณซึ่งได้มีการสร้างถนนเชือมโยง สถานที ่
้
่
่
ในเมืองตาง ๆ และมาหยุดชะงักเมือสมัยยุคกลาง (Middle Age) เปาหมายของการเดินทางในยุคแรก ๆ ส่วนใหญ ่
่
็
่
เปนไปเพือการส่งข่าวสารและท าการค้า ในสมัยนั้นไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีโรงแรม หรือการสร้าง ทีพักแรมแต ่
่
ประการใด แตมีการสันนิษฐานว่าการเดินทางในยุคนั้น นักเดินทางมักนิยมหยุดพักผ่อนระหว่าง ทางด้วยการสร้างที ่
่
่
พักไว้ชั่วคราวใกล้บริเวณแหล่งน ้า ซึ่งยังคงได้รับการถ่ายทอดกันตอ ๆ มาในยุคหลัง ๆ ว่าส่วนใหญมักนิยมสร้างที ่
พักแรมไว้ใกล้กับแหล่งน ้าเชนเดียวกัน
่
ตามบันทึกเกาแกของกรกและโรมันโบราณยังได้กล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับการให้บริการในการต้อนรับแขก
่
่
ี
่
่
ไว้ เชน ในงานของจินตกวี โฮเมอร์ (Homer) ในบทประพันธ์ที่มีชือเสียง ชือโอดิสซี (Odessey) และอีเลียด (liad)
่
ู
ิ
็
่
โดยมีการอธบายว่า เพราะเหตุใดผ้คนในสมัยโบราณจึงต้องมีการต้อนรับแขกเปนอย่างดี ซึงจากบทประพันธ์ ได้
กล่าวถึงความจ าเปนในการต้อนรับแขกแปลกหน้าด้วยความเตมใจว่าเปนไปตามความเชื่อในศาสนา ในบางกลุ่ม คน
็
็
็
่
ให้การต้อนรับที่ดีเฉพาะเมื่อเกิดความร้สึกกลัวในความเชือบางประการ กล่าวคือ มีความคิดว่าแขกแปลกหน้าทีมา
ู
่
เยือนอาจเปนตัวแทนของความดี หรืออาจเปนตัวแทนของความชั่วร้ายหรือวิญญาณร้าย หรืออาจเปนปศาจ สิง ่
ี
็
็
็
ู
่
้
ู
็
เหล่านีจึงเปนเหตุจูงใจให้เกิดความคิดเกี่ยวกับการต้อนรับแขกผ้มาเยือนทั้งสิน ผ้ทีเดินทางในยุคนั้นนอกจากจะเปน
็
้
ู
ผ้ส่งข่าวสาร (Courier) และพ่อค้าแล้ว ยังมีพระและนักสอนศาสนา ตลอดจนกลุ่มผ้จาริกแสวงบุญจ านวนมาก
ู
ิ
เดินทางไปยังดินแดนหรือสถานทีอันศักดิ์สิทธ์ตามความเชื่อทางศาสนา ผลจากการเดินทางนีท าให้เกิดการจัดสถานที ่
่
้
พักส าหรับผ้เดินทางไว้ใกล้ ๆ กับสถานที่ศักดิ์สิทธ์นั้น ๆ ที่พักที่ จัดขึนเปนแบบชั่วคราว ใช้ในระยะสั้น ๆ พร้อมทั้ง
ู
ิ
้
็
่
มีทีนอน อาหารและน ้าดืมจากบันทึกทางศาสนาของชาว อินเดียโบราณพบว่า บรรดาพระและนักบวชในศาสนา
่
็
ู
่
้
ประจ าโบสถ์เปนผ้ท าหน้าทีดแลจัดหาทีพักและอาหารส าหรับ ผ้เข้ารวมพิธีกรรมทางศาสนา นอกจากนี นักเดินทางใน
่
่
ู
ู
่
ยุคแรก ๆ ยังเปนกลุ่มทหาร นักการทต หรือคณะเดินทางที่เกี่ยวกับการเมือง ซึ่งกลุ่มตาง ๆ เหล่านีมีการเดินทาง
้
ู
็
็
่
่
็
ติดตอระหว่างเมืองที่เปนดินแดนอยภายใต้อ านาจของอาณาจักรโรมัน โบราณที่มีความยิงใหญ และเปนยุคที่ขยาย
ู
่
่
่
็
อาณาจักรไปยังดินแดนตาง ๆ การเดินทางของทหารโรมันสมัยนั้น ทหารมักนิยมน าเตนท์ติดตัวไปส าหรับใช้ในการ
้
พักค้างคืนชั่วคราวตลอดระยะเวลาการเดินทางแทนการพัก ในโรงเตียม
ในยุคโบราณ การเดินทางในอาณาจักรเปอร์เซียนิยมจัดเปนกองคาราวานขนาดใหญ โดยการขนเต้นท์
็
่
็
่
็
่
่
่
็
ทีสามารถกางออกได้เปนทีพัก หรือเปนลักษณะกระโจม ไม่จ าเปนต้องพักค้างคืนทีใดแตบนเส้นทางการเดินทาง
็
่
้
พบว่ามีการกอสร้างที่พักส าหรับนักเดินทางเอาไว้เปนที่พักง่าย ๆ มีก าแพงล้อมรอบสีด้านเพื่อปองกันภัยธรรมชาติ
่
่
เชน พายุทรายและปองกันการปล้นสะดมในเวลากลางคืนภายในก าแพงทั้งสีด้านจัดเปนพืนถาวร เพือใช้เปนที ่
็
้
่
็
่
้
่
พักผ่อนของผ้เดินทาง ทีพักทีสร้างขึนนีเรียกว่า “คานส์” (Khans)
่
้
้
ู