Page 160 -
P. 160
้
ู
ู
ิ
ิ
คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์
ุ
PC1
CU Chorus Best Practices ... จาก New Norm สู่ Next Norm
1,2
1,3
1
ิ
เกษม รัตนภิญโญพิทักษ์ , นิติ งามสมประเสริฐ , ณัฐณิชา เตชะอํานวยพร , เธียรดนัย เสรมบุญไพศาล 1
1 ชมรมนักร้องประสานเสยง สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลย, คณะสตวแพทยศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลย ั
2
3
ั
ี
ั
ผลการดำเนินงาน
ความสำคัญของผลงาน
ผลการดําเนินงานในช่วงที่ผ่านมาทําให้ชมรมมีผลงานที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน อาทิ การจัดทํา
ชมรมนักร้องประสานเสียง สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกิจกรรมนิสิตที่เพื่อเปิดโอกาส
ํ
Virtual Chorus การจัดทําวีดิทัศน์ประกอบเพลงผลงานของชมรม การดาเนินการคัดเลือกนักรองและ
้
ให้นิสิตได้ร่วมกันพัฒนาศักยภาพของตนเองในระหว่างที่ศึกษาอยู่ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผ่านการ นักเปียโนผ่านระบบออนไลน์ การฝึกซ้อมนักร้องใหม่ผ่านระบบออนไลน์ด้วยรูปแบบการดําเนินการใหม่
ั
่
ิ
ขับร้องประสานเสยงในพิธีการหรือกิจกรรมของมหาวทยาลย รวมถึงการแสดงให้กับหน่วยงานทีสนใจ
ี
ที่คณะกรรมการชมรมวางแผนขึ้น การจัดกิจกรรม การประชุม การเลือกตั้งในรูปแบบออนไลน์ และเมื่อ
ในแต่ละป กิจกรรมของชมรมขับเคลื่อนด้วยสมาชิกกวา 300 คน ซงเปนนิสิตระดบการศึกษาต่าง ๆ สถานการณ์การแพร่ระบาดคลี่คลายคง ชมรมได้นํารูปแบบการดําเนินการดังกล่าวมาปรับปรุง
ั
่
็
ึ
ี
่
และคณะกรรมการชมรม ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของอาจารย์ที่ปรึกษาชมรมและอาจารย์ผู้ฝึกสอน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และยังคงผลิตผลงานสร้างสรรค์จากสมาชิกของชมรมอย่างต่อเนื่อง
ของวง คณะกรรมการชมรมจะวางแผนการดําเนินกิจกรรม ประกอบด้วยกิจกรรมประจําปี ได้แก่ การ
ขับร้องประสานเสียงในพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่และพิธีพระราชทานปริญญาบัตร การฝึกซ้อมนักร้องใหม่
(Voice Training) ตลอดปการศึกษา การคัดเลือกสมาชิกชมรม การเลือกตั้งกรรมการชมรม นอกจากนี ้
ี
ี
ั
็
้
้
ิ
ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อาทิ การขับรองประสานเสยงทังภายในและภายนอกมหาวทยาลยเปนครงคราว
้
ั
่
ในปี 2563 เกิดการแพรระบาดของโรคโควด-19 ส่งผลให้มหาวิทยาลัยปิดที่ทําการและจัดการเรียน
ิ
การสอนแบบออนไลน์ ทําให้กิจกรรมนิสิตแบบพบปะต้องหยุดลง คณะกรรมการชมรมเล็งเห็นว่า
กิจกรรมชมรมนั้นต้องอาศัยสมาชิกของชมรมจํานวนมากในการช่วยกันสร้างสรรค์ผลงานการขับร้อง
เพลงประสานเสียงอย่างต่อเนื่อง หากงดเว้นการฝึกซ้อมนักร้องไปเป็นระยะนาน ย่อมจะทําให้กิจกรรม
ของชมรมขาดช่วงไป จึงร่วมกันนําเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมและการจัดการซ้อมในช่วงการแพร ่
ื
้
ระบบการเลอกตังกรรมการชมรมออนไลน์
ระบาดของโรคโควิด-19 โดยอาศัยวงจรบริหารงานคุณภาพของ Deming ร่วมกับหลักคิดสําหรับจัด
้
้
ู
ื
กิจกรรมนิสิตในศตวรรษที่ 21 การใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการดําเนินงานทุกมิติ เพื่อให้การจัดกิจกรรม กิจกรรมแรกพบนักรองใหม่ออนไลน์ รปแบบการคัดเลอกนักรองออนไลน์
่
ของชมรมเป็นไปอย่างต่อเนืองและราบรืน ภายใต้ความปลอดภัยจากโรคโควด-19
่
ิ
จุดประสงค์และเป้าหมายการดำเนินงาน
ุ
จดประสงค์
ํ
ิ
1. เพือดาเนินกิจกรรมของชมรมในช่วงการแพรระบาดของโรคโควด-19 ให้ลุล่วง
่
่
่
2. เพือผลิตผลงานการขับร้องประสานเสยงของชมรมในรูปแบบใหม่
ี
ํ
เป้าหมายการดาเนินงาน
ี
ั
ั
ึ
ื
1. ชมรมจัดโครงการหรอกิจกรรมของชมรมในจํานวนไม่น้อยกวาปการศึกษา 2562 การบนทกวีดิทศน์การแสดง
่
2. สมาชิกของชมรมรอยละ 70 เข้ารวมกิจกรรมของทางชมรม
้
่
้
การฝึกซ้อมรองเพลงออนไลน์
3. โครงการหรือกิจกรรมของชมรมไดรับการประเมินความพึงพอใจสูงกวาร้อยละ 80
้
่
QR
ขั้นตอนการดำเนินงาน Code
กอดในใจ
การดําเนินกิจกรรมของชมรมในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้ใช้แนวคิดและขั้นตอน
ที่คณะกรรมการชมรมผสมผสานขึ้น ดังแสดงผลในแผนภาพด้านล่าง ประกอบด้วยวงจรบริหารงาน เพลงกอดในใจ
์
ี่
คุณภาพของ Deming ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) การวางแผน เป็นการระดมความคิดเห็น และ การฝึกซ้อมในห้องชมรมในช่วงทสถานการณโรคโควิด-19 Virtual Chorus
เริ่มคลี่คลาย
ร่างแผนการปฏิบัติ การซ้อมและการประเมินผล ซึ่งอาศัยการประชุมคณะกรรมการชมรมออนไลน์ที่จัด
ขึ้นเป็นประจําทุกเดือน ร่วมกับการประชุมกลุ่มย่อยของผู้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนั้น ๆ (2) การปฏิบัติ
เป็นการดําเนินการกิจกรรมชมรมที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นในรูปแบบออนไลน์หรือในสถาน ปัจจัยความสำเร็จ
ที่ตั้งแล้วแต่กรณี (3) การตรวจสอบ เป็นการทบทวนแผนการดําเนินการหรือการปฏิบัติ โดยอาศัยการ
ประชุมกลุ่มย่อย เพื่อตรวจสอบปัญหาและอุปสรรคที่พบ (4) การปรับปรุง เป็นการนําผลการตรวจสอบ
มาเสนอและเป็นข้อปรับปรุงในการวางแผนการดําเนินงานอื่น ๆ ต่อไป ซึ่งจะเกิดขึ้นควบคู่กับการ 1. คณะกรรมการชมรมมีส่วนร่วม มุ่งมั่นตั้งใจ และทุ่มเทเพื่อสร้างแผนการดําเนินงานชมรม และ
วางแผนงานใหม่ของกิจกรรมอน ๆ นําประสบการณ์การทํางานมาพัฒนา ปรับปรุง ระบบการทํางานอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเป็นแบบอย่างที่ด ี
่
ื
้
นอกจากนั้นชมรมยังได้นําเทคโนโลย ี ใหกับสมาชิกชมรม เอาใจใส่และให้คําแนะนําที่ดีแก่สมาชิกชมรมคนอื่น ๆ
้
้
เข้ามาใช้ในการดําเนินอย่างเต็มรูปแบบ 2. สมาชิกชมรมใหความรวมมือ มีความพรอม และความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรมชมรม
่
โดยได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย
3. อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม และผู้ฝึกสอนให้ความสําคัญ ส่งเสริมให้กําลังใจ และสนับสนุน
อย่างไรก็ดีการดําเนินกิจกรรมทุกครั้ง การพัฒนาระบบงาน
ต้องอย่ายใต้มาตรการการป้องกันโรค 4. ความพรอมของอปกรณ์เทคโนโลยสารสนเทศ และการประยกต์ใช้เทคโนโลยทีเหมาะสม
ุ
้
ุ
่
ี
ี
โควิด-19 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ิ
้
่
้
5. ความตระหนักและความพรอมในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควด-19
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด
ในกรณีที่สถานการณ์คลี่คลายลง และมี
การผ่อนคลายมาตรฐาน คณะกรรมการ
ชมรมจะปรับเปลี่ยนแผนการทํางาน บทเรียนที่ได้รับ
ในทันที เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
สมาชิกชมรมทีเข้ารวมกิจกรรม
่
่
การปรับตัวเพื่อจัดกิจกรรมในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด โดยใช้หลักคิดและวิธีต่าง ๆ เข้ามา
ประยุกต์ใช้ในการขับร้องเพลงประสานเสียง เพื่อพัฒนาศักยภาพของนิสิตในด้านต่าง ๆ ทําให้นิสิตได้รับ
การสนับสนุนส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกด้าน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้เกิดผล
แผนภาพขันตอนการดาเนินการ
ํ
้
้
ของแนวคิดแบบผสมผสาน งานสรางสรรค์ชนิดใหม่ ๆ ซึ่งเกิดจากความร่วมมือและร่วมใจของนิสิตได้อย่างน่าพอใจ
เอกสารอ้างอิง 1. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2554). การพัฒนานิสตนักศึกษา. ภาควชาอดมศึกษา คณะครศาสตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ิ
ุ
์
ุ
ิ
2. Robles, M. (2012). Executive Perceptions of the Top 10 Soft Skills Needed in Today’s Workplace. Business Communication Quarterly, 75, 453-465.