Page 66 -
P. 66

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                                                 2-29

                                     (1.4) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 36 (ถนนบายพาสพัทยา–ระยอง) สายกะทิงลาย–
                                                                          ี้
                                                                            
                                       
                                                        
                                                                                                    ึ่
               ปลวกเกตุ เปนถนนแอสฟลตคอนกรีตขนาด 4 ชองจราจร ถนนสายนไดรับการกําหนดใหเปนสวนหนง
                                                                                         ิ
                                             
               ของทางหลวงเอเชียสาย 123 เริ่มตนแยกจากทางหลวงแผนดนหมายเลข 3 (ถนนสุขมวท) บริเวณทาง
                                                                                       ุ
                                                                   ิ
               แยกกะทิงลายอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีสิ้นสุดที่ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3 บริเวณบานปลวกเกตุ
               ตําบลเชิงเนินอําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ระยะทางรวม 57 กิโลเมตร
                                     (1.5) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 318 (ถนนตราด-บานหาดเล็ก) ทางไปสูตลาด
               ชายแดนไทย-กัมพูชา บานหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ
                                                                                                    
                                     (1.6) ทางหลวงแผนดนหมายเลข 331 สายสัตหีบ–เขาหินซอน มีชอเรียกวา
                                                        ิ
                                                                                              ื่
               ถนนสายยุทธศาสตรเสนทางเริ่มจากถนนสุขุมวิท ที่ตําบลพลูตาหลวง อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีสิ้นสุดที่
                             ิ
                                                                     ํ
                                                  ิ
               ทางหลวงแผนดนหมายเลข 304 (ฉะเชงเทรา-กบินทรบุรี) ที่ตาบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม
               จังหวัดฉะเชิงเทรา
                                     (1.7) ทางหลวงแผนดินหมายเลข 344 สายชลบุรี–แกลง เปนถนนที่กอสรางขึ้น
                    
                                                                                          ั
                                       ั
                                                                        ั
                                                      ั
               เพื่อยนระยะทางจากจังหวดชลบุรีไปสูจังหวดจันทบุรีและจังหวดตราด โดยไมผานตวเมืองระยอง
               เปนถนนผิวจราจรแอสฟลตคอนกรีต ขนาด 4 ชองจราจรตลอดสาย เริ่มตนจากถนนสุขุมวิท อําเภอเมือง
               ชลบุรีผานถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรี ทางแยกบานบึงพัฒนา (แยกเอ็ม 16) อําเภอบานบึง
               ทางแยกหนองปรือ และอําเภอหนองใหญ เขาเขตจังหวัดระยอง ผานอําเภอวงจันทรสิ้นสุดที่ถนนสุขมวท
                                                                              ั
                                                                                                  ุ
                                                                                                    ิ
               บริเวณทางแยกภิบาลพัฒนา (แยกแกลง) อําเภอแกลง จังหวัดระยอง
                                     (1.8) ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพมหานคร−บานฉาง เปนทางหลวง
                                                               ี้
               พิเศษระหวางเมืองสายแรกของประเทศไทย ทางสายนเปนโครงขายทางหลวงที่มีความสําคญในการ
                         
                                                                        
                                                                                              ั
                                                                                   ื่
               พัฒนาเสนทางคมนาคมขนสงกับพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลภาคตะวนออก เปนทางเชอมเขาสูทาอากาศยาน
                                                                     ั
                                                                                        
               สากลแหงใหม คอทาอากาศยานสุวรรณภมิ ถนนสายนไดรับการกําหนดใหเปนสวนหนงของทางหลวง
                                                                
                                                              ี้
                                                                                         ึ่
                                                  ู
                             ื
               เอเชียสาย 19 และทางหลวงเอเชียสาย 123

                       2.5.2 รถไฟ มีเสนทางรถไฟเชอมโยงจาก กทม.–อําเภออรัญประเทศ (กทม. ฉะเชงเทรา
                                                  ื่
                                                                                                ิ
                                                                                           ื่
               นครนายกปราจีนบุรีสระแกว อําเภออรัญประเทศ) และกทม.–ระยอง และเสนทางรถไฟเชอมสนามบิน
               ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ-อูตะเภา
                       2.5.3 การคมนาคมขนสงชายฝง มีทาเรือที่ดําเนินการใหบริการขนสงทางทะเลระหวางประเทศ
               โดยภาครัฐและเอกชนที่สําคัญ คือ ทาเรือแหลมฉบัง เปนทาเรือน้ําลึกในการขนสงสินคาระหวางประเทศ
                                                                                            
               ตั้งอยบริเวณอําเภอศรีราชา และบางละมุง จังหวัดชลบุรี ปจจุบันมีอยู 2 แหง กําลังกอสรางแหงที่ 3 ทาเรือ
                    ู
               มาบตาพุด เปนทาเรืออุตสาหกรรมที่มีศกยภาพสูง ตงอยบริเวณตาบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง
                                                  ั
                                                             ั้
                                                                        ํ
                                                                ู
               จังหวัดระยองและทาเรือศรีราชา เปนทาเรือน้ําลึกเอกชนแหงแรกที่ใหญที่สุด ตั้งอยูบริเวณอําเภอศรีราชา
               จังหวัดชลบุรี ใหบริการประเภทสินคาเทกองสินคาทั่วไป และคอนเทนเนอรรวมถึงมีทาเรือ Ferry หัวหิน-พัทยา
                                                                                           ิ
                                                                                                 ั
                                                                                                    ื
                       2.5.4 การคมนาคมขนสงทางอากาศ มีสนามบินที่สามารถเชอมโยงไปสูนานาชาตที่สําคญ คอ
                                                                          ื่
                                                                                              ั
                                                                    ํ
               ทาอากาศยานอูตะเภา หรือสนามบินนานาชาติอูตะเภา ตงอยตาบลพลา อําเภอบานฉาง จังหวดระยอง
                                                                  ู
                                                               ั้
               หางจากจังหวัดประมาณ 30 กิโลเมตร และอยูหางจาก กทม. ประมาณ 190 กิโลเมตร ซึ่งจะพัฒนาเปน
               สนามบินพาณิชยระหวางประเทศอีกแหงหนึ่ง
                       (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต, 2562: 2-3)
                                                                   ิ
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71