Page 71 -
P. 71

ิ
                                            ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                               ์
                                                                                                 2-34

                              (4) พื้นที่ชุมน้ํานอกเขตอนุรักษ  
                                     (4.1) บึงสํานักใหญ (หนองจํารุง)

                                     (4.2) ปากแมน้ําเวฬ  ุ
                                     (ตารางที่ 2-24)

                                     สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2561: 1-6  )

               ตารางที่ 2-24 พื้นที่ชุมน้ํานอกเขตพื้นที่อนุรักษ

                 ลําดับที่               พื้นที่ชุมน้ํา                       จังหวัด
                   1     บึงสํานักใหญ (หนองจํารุง)                             ระยอง
                   2     ปากแมน้ําเวฬุ                                        จันทบุร  ี

               ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2561: 4)

                       2.6.8 การเกิดฝนกรด (Acid Rain) ในภาคตะวันออก
                                                    
                                  ึ้
                       ฝนกรดเกิดขนจากกาซออกไซดของซัลเฟอร (SO 2) และออกไซดของไนโตรเจน (NO 2)
                                                                                  
               ทําปฏิกิริยาใหเกิดสารกรดในบรรยากาศ และตกลงสูพื้นแผนดน ซึ่งมีการใชที่ดนประเภทตางๆ รวมทั้ง
                                                                               
                                                                                 ิ
                                                                   ิ
                                                                                           
               พื้นที่การเกษตรที่สรางความเสียหายแกพืชผลที่ปลูกในพื้นที่ที่มีฝนกรดตกลงมา ซึ่งมีคา pH* ต่ํากวา 5.6
                       กรณีภาคตะวันออกนั้น โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัด ชลบุรี และระยอง ซึ่งมีโรงงานอุตสาหกรรมจํานวนมาก
               นั้นไดมีเหตุการณเกิดขึ้นกับสวนมะมวง ในป พ.ศ.2550 ในบริเวณใกลเคียงมาบตาพุด โดยมีสารสีเหลือง
               ที่มากับฝนที่ตกเกาะบนใบและชอมะมวง ตองใชนาลางออกเพื่อลดความเสียหายกับสวนมะมวง
                                            
                                                            ้ํ
                                                           
                                                      
               (ฐานเศรษฐกิจ, 2550: 1-2)
                                                                            ื
                       ในป พ.ศ. 2556 กระทรวงสาธารณสุขไดออกประกาศ เตอนประชาชน หามดมนาฝน
                                                                                               ื่
                                                             
                                                                                                  ้ํ
                 
                                             ิ
                        ิ
                                                                ิ
                                                                                                    
               ยานมหาวทยาลัยเกษตรศาสตร  วทยาเขตศรีราชาและนคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โดยมีรายงานวา
               น้ําฝนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชามีคา pH 4.63 และที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาบล
                                                                                                  ํ
                                                                        
               มาบตาพุด จังหวัดระยองมีคา pH 4.63 เชนเดียวกัน (ไทยรัฐออนไลน, 2556: 1-2)
                                                                                                
                       กรมควบคุมมลพิษ (2554: 1-54) ไดรายงานสถานการณฝนกรดไวในรายงานสถานการณมลพิษ
                                                                                                     
                                                                                           
                                          
                                                                    ั้
                                                                        
                                                            ั
               ของประเทศไทยป 2553 ไววาคา pH ของฝนในจังหวดชลบุรีตงแต พ.ศ. 2546-2553 มีคา pH ตากวา
                                                                                                 ่ํ
                                      
                                        
               5.6 ซึ่งเปนคา pH ของน้ําฝนตามธรรมชาต จึงเปนฝนกรด
                                                   ิ
                                                                            
                                                                                     ั
                                                                           
                       ในชวงป 2547-2561 ขอมูลจากกรมควบคมมลพิษ รายงานไววา ในจังหวดชลบุรี และระยอง
                                                           ุ
                                          
               น้ําฝนมีคา pH ต่ํากวา 5.6 เชนเดียวกัน (เถลิงศักดิ์ เพชรสุวรรณ, 2562: 7)
                                                                              
                                                  
                                        ี้
                                                          ั
                                                
                                 ั
                           
                       จากขอมูลดงกลาวนจะสรุปไดวาในจังหวด ชลบุรี และระยอง ไดตรวจพบสถานภาพฝนกรด
               เกิดขึ้นซึ่งมีผลตอพื้นที่การเกษตร
                              สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (2563: 13) ไดรายงาน
                                                        ั้
               ไววา “กรณแหลงกําเนดสารมลพิษทางอากาศตงอยบริเวณชายฝงทะเลที่มีลมบกและลมทะเล โดยใน
                                   ิ
                                                           ู
                         ี
                                                                                                   
               เวลากลางวันลมจะพัดจากทะเลเขาสูฝง และในเวลากลางคืนมีลมพัดจากฝงออกสูทะเล ซึ่งลมทะเลเขาสู
                                                                               
                                                                                
               ฝงมักแรงกวาลมจากฝงไปสูทะเล จึงทําใหสารมลพิษกระจายจากฝงทะเลไดนอยมีโอกาสเกิดการสะสม
               ของสารมลพิษในพื้นที่
               ------------------------------------------
               * pH : หนวยแสดงความเขมขนของไฮโดรเจนในวัตถุธาตุ คา pH นอยกวา 7 แสดงวาเปนกรด คา pH มากกวา 7 แสดงวาเปนดาง
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76