Page 72 -
P. 72

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                                                 2-35

                                                                                                   
                                                                          
                              โดยทั่วไปลักษณะภูมิประเทศไมสามารถเปลี่ยนแปลงไดหรือมีโอกาสเปลี่ยนแปลงไดนอย
                                                                                                  
               สิ่งสําคัญในการบริหารจัดการมลพิษทางอากาศ คือการลดและปองกันมลพิษจากแหลงกําเนิดโดยตรง”
                                                              ึ่
                              ดวยหลักการดังกลาวอาจเปนสาเหตุหนงที่ทําใหในพื้นที่มาบตาพุดมีมลพิษทางอากาศ
               เกิดขึ้น จนมีปญหาในอดีต

                       2.6.9 สถานการณน้ําในภาคตะวันออก

                       จากรายงานการศึกษาของสถาบันตางๆ ที่กังวลถงการขาดแคลนนาเพื่อกิจกรรมตางๆ ในภาค
                                                                              ้ํ
                                                                ึ
                                                    
                                                                                           
               ตะวันออก ดังที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2524: 131) ไดระบุไวใน
                                                          ั
               ชวงเวลาที่เริ่มตนโครงการพัฒนาชายฝงทะเลตะวนออก (Eastern Seaboard : ESB) ในป พ.ศ.2524
                             
                 
               และเมื่อมีการจัดทํา “แผนงานพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560-2564) ก็ไดระบุปญหา
                                                                                                  
               การขาดแคลนน้ําไวเชนเดียวกัน การขาดแคลนน้ําไดเกิดขึ้นจนถึงขั้นวิกฤติในป พ.ศ. 2548 รวมทั้งไดเกิด
                 ั
                                                                         ิ
               ภยพิบัติจากอุทกภัยในจังหวัดตางๆ เชน จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชงเทรา และปราจีนบุรี ทั้งการเกิด
                               ั
               ภยแลงและอุทกภย ไดสรางความเสียหายใหแกภาคการเกษตรสวนหนง จึงไดทบทวนสาระสําคญ
                                   
                                                                              ึ่
                                                                                    
                 ั
                                                                                                    ั
                                       ้ํ
                      
                                      
                                                                   ื
               ที่เกี่ยวของกับสถานการณนาในภาคตะวนออกรวม 5 เรื่อง คอ (1) แหลงนาที่สําคญในภาคตะวนออก
                                                                                                ั
                                                                                     ั
                                                  ั
                                                                               ้ํ
                                 ้ํ
               (2) การขาดแคลนนาและการแกไขในภาคตะวนออก (3) อุทกภยและดนถลมในภาคตะวนออก
                                                                         ั
                                                                                ิ
                                                                                                ั
                                                         ั
                                                                               ั
                                                                     ้ํ
               (4) มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหาการขาดแคลนนาในภาคตะวนออก และ (5) การบริหาร
               ทรัพยากรน้ําในภาคตะวันออกในปจจุบัน

                              (1) แหลงน้ําที่สําคัญในภาคตะวันออก
                                                                                   ั
                                                                                                ั
                                                                            ้ํ
                                                                  ื
                              หัวขอนจะมีสาระสําคญรวม 2 เรื่อง คอ (1) แมนาที่สําคญในภาคตะวนออก
                                  
                                                  ั
                                     ี้
                                                                                     ้ํ
                               ้ํ
                                                ั
                                     ั
                                                                ้ํ
               และ(2) อางเก็บนาที่สําคญในภาคตะวนออก (3) แหลงนาบาดาล และ(4) แหลงนาในไร-นา นอกเขต
               ชลประทาน
                                                                ั
                                     (1.1) แมน้ําที่สําคัญในภาคตะวนออก
                                            (1.1.1) แมน้ําเกิดจากทิวเขาจันทบุรี
                                            ดานทิศเหนือ
                                            ไมมีแมน้ําสําคญ นาไหลลงหวยและคลองตางๆ ไปลงแมนาพระปรง
                                                        ั
                                                            ้ํ
                                                                                             ้ํ
                                                                                
               แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ําบางปะกง

                                                     
                                            ดานทิศใต ดังน  ี้
                                                    ้ํ
                                            (1) แมนาจันทบุรี ในจังหวดจันทบุรี ยอดนาเกิดจากเขาตะกวด
                                                                                   ้ํ
                                                                    ั
                                                                                 
                                                                                                
               ในอําเภอมะขาม ลําน้ําตอนตนเรียกคลองตารอง ไหลลงทางทิศตะวนตกเฉยงใต แลวลงทางทิศใต เรียก
                                                                             ี
                                       
                                                                       ั
               คลองจันทบุรี ตอไปลงทางทิศตะวนออกเฉยงใตและตะวนตกเฉยงใต กอนจะเขาอําเภอเมืองจันทบุรี
                                                                                    
                                             ั
                                                        
                                                    ี
                             
                                                                      ี
                                                                ั
                                                                          
                                                            
               เรียกแมน้ําจันทบุรีผานที่ตั้งจังหวัด แลวลงทางทิศใตเขาอําเภอแหลมสิงห ไหลลงอาวไทยระหวางตาบล
                                                                                                  ํ
                                                                                              
               บางกะไชยกับตําบลปากน้ําแหลมสิงห ยาว 100 กม.
                                                                           
                                                                                                   
                                                    ้ํ
                                                                 ้ํ
                                            (2) แมนาประแส ยอดนาเกิดระหวางเขาใหญ (ปลายลํากระยาง)
                                                                                               
               กับเขาอางฤาในอําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ลําน้ําตอนตนเรียก คลองกระแสไหลไปทางทิศใต เขาเขต
                                                                                                 
               จังหวัดระยอง เรียกแมน้ําประแส ผานอําเภอแกลง ไปลงทะเลที่อาวไทยในอําเภอเดียวกัน ยาว 80 กม.
                                                               ้ํ
                                            (3) แมน้ําระยอง ยอดนาเกิดจากเขาเลี้ยงควาย ทางตอนใตของ อําเภอ
                                                                                            
                                                          
                                                   ้ํ
               บานบึง จังหวัดชลบุรี ไหลลงทางทิศใต ลํานาตอนตนเรียก หวยทาจาม เมื่อเขาเขตจังหวดระยอง เรียก
                                                                                
                                                                                         ั
               คลองใหญ จากอําเภอปลวกแดง ตอไปเปนเสนแบงเขตอําเภอปลวกแดงกับอําเภอบานคาย จากนนผาน
                                                                                                 ั้
                                                                                         
                                            
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77