Page 74 -
P. 74

ิ
                                               ์
                                                                 ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                  ิ
                                                                             ิ
                                                                                                 2-37

                                                                    ั
                                     (1.2) อางเก็บน้ําที่สําคัญในภาคตะวนออก
                                                                                 ั
                                                        ้ํ
                                            (1) อางเก็บนาขนาดใหญในพื้นที่ภาคตะวนออกมีจํานวน 6 แหง
               คือ (1) คลองสียัด  (2) บางพระ (3) หนองปลาไหล (4) ประแสร (5) นฤบดินทรจินดา (6) คลองหลวงรัช
               ชโลทร ดังรายละเอียด ในตารางที่ 2-25
                                             (2) อางเก็บน้ําขนาดกลาง
                                            อางเก็บนาขนาดกลางมีจํานวน 44 แหง ความจุรวม 609.325
                                                     ้ํ
               ลานลูกบาศกเมตร (กรมชลประทาน, 2565: 1-2)

               ตารางที่ 2-25 อางเก็บน้ําขนาดใหญในภาคตะวันออก
                                                                                            3
                   ที่         อางเก็บน้ํา                ที่ตั้ง                ความจุ (ล.บ )
                   1     คลองสียัด            อําเภอ สนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา      450
                   2     บางพระ               อําเภอบางพระ จังหวัดชลบุร  ี             127
                   3     หนองปลาไหล           อําเภอบางละมุง จังหวัดระยอง              206
                   4     ประแสร              จังหวัดระยอง                             322
                   5     นฤบดินทรจินดา       อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุร  ี           338
                   6     คลองหลวงรัชชโลทร     อําเภอเกาะจันทร จังหวัด ชลบุร  ี        98
                                            รวม                                       1,541

               ที่มา: กรมชลประทาน (2565: 1)

                                     (1.3) แหลงน้ําบาดาลในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
                                                      ี
                                     กรมทรัพยากรธรณ (2565: 1) ไดรายงานวามีนาบาดาลที่นาไปใชไดจํานวน
                                                                  
                                                                                        ํ
                                                                          
                                                                              ้ํ
                                                                                               
                                                                                             
               4,662 ลานลูกบาศกก็เมตร นําไปใชได 336 ลานลูกบาศกเมตรตอป ยังคงเหลืออีก 4,326 ลานลูกบาศกเมตร
               และมีปริมาณน้ําเพิ่มเติมปละ 6,655 ลานลูกบาศกเมตร มีรายละเอียดในตารางที่ 2-26
                                                                                        
                                      ้ํ
                                     นาบาดาลที่นาไปใชจํานวน 336 ลานลูกบาศกเมตร นนใชเพื่อการเกษตร
                                                                                     ั้
                                                 ํ
                                                      
               จํานวน 243 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ 72.34 สําหรับการอุปโภค-บริโภค จํานวน 59 ลานลูกบาศกเมตร
               หรือรอยละ 17.41 และเพื่ออุตสาหกรรม จํานวน 34 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ 10.25
                                              ี้
                                                
                                                                     ้ํ
                                     นอกจากนไดมีการสํารวจพบแหลงนาบาดาลในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาค
                                            ิ
                   ั
                                                          ื
                                                                                               ้ํ
                                      ั
               ตะวนออกโดยพบที่จังหวดฉะเชงเทรา 2 แหง คอ ที่อําเภอพนมสารคามและอําเภอบางนาเปรี้ยว
                      ั
                                                                        
                                                                                                    ้ํ
                                                    ั
               ที่จังหวดชลบุรีที่อําเภอสัตหีบ และที่จังหวดระยอง ที่อําเภอบานคาย รวมทั้งสิ้น 4 แหง มีปริมาณนา
                                                                             
               ที่คาดวาจะพัฒนาไดรวมทั้งสิ้น 180 ลานลูกบาศกเมตร (ทีเอ็นเอ็นออนไลน, 2564: 2)

               ตารางที่ 2-26 ปริมาณน้ําบาดาลที่นําไปใชได และการใชในจังหวัดตางๆ ภาคตะวันออก
                                                                                                                                      หนวย : ลานลูกบาศกเมตร
                 ลําดับ        จังหวัด           น้ําบาดาลที่นํา    ปริมาณการใช         ยังคงเหลือ
                  ที่                               ไปใชได
                  1     ตราด                         703                22                 681
                  2     จันทบุร  ี                   1,242              63                 1179
                  3     ระยอง                        374                37                 337
                  4     ชลบุร  ี                     423                52                 371
                  5     ฉะเชิงเทรา                   514                35                 479
                  6     ปราจีนบุร  ี                 613                53                 560
                  7     สระแกว                      794                75                 719
                             รวม                    4,662               336                4,326

               ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2565: 1)
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79