Page 113 -
P. 113
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
์
ิ
2-76
ขนาดใหญของภาคตะวันออกจํานวน 6 แหง พบวา ปริมาณน้ําที่กักเก็บไดตั้งแตป 2556–2561 มีปริมาณ
้ํ
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 4.52 ตอป โดยปริมาณน้ําที่เก็บกักได เมื่อเทียบกับความจุของอางเก็บนาสูงสุดรอย
ละ 73.6ในป 2561 และตาสุดที่ รอยละ 50.2 ป 2559 สําหรับ ป 2561 ปริมาณนากักเก็บไดของภาค
่ํ
้ํ
ตะวันออกเพิ่มขึ้นรอยละ 12.4 จากป 2560 โดยมีปริมาณเก็บกักได 1,187 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอย
้ํ
ั
ละ 73.6ของความจุอาง หรือรอยละ 5.0 ของปริมาณนาทา ถงกระนน ปริมาณนาที่เก็บกักไดก็ยงคงไม
้ํ
ั้
ึ
เพียงพอตอความตองการใชนาที่เพิ่มขน จากการเพิ่มขนของการผลิตภาคเกษตรที่ขยายตวเพิ่มขนมาก
้ํ
ั
ึ้
ึ้
ึ้
ึ้
ตามราคาที่สูงขนการขยายตวของภาคอุตสาหกรรม การทองเที่ยว และการเพิ่มขนของชมชนอยาง
ึ้
ั
ุ
ตอเนื่อง สงผลใหปญหาการขาดแคลนน้ําในหนาแลงยังคงอย
ู
2.10.3 การพัฒนาเศรษฐกิจของภาคตะวันออกที่ผานมา ไดกอใหเกิดปญหาความเสื่อม
โทรมของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิตมากขึ้นตามลาดับ อาทิ การทําลายทรัพยากร
ปาไมไดสงผลกระทบไปถึงปญหาความแปรปรวนของลมฟาอากาศ กอใหเกิดภาวะฝนแลงและนาทวมอย ู
้ํ
เสมอโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี และตราด นอกจากนี้ยังมีการจับสัตวน้ําโดยไมถูกวิธี ทําใหสัตวนา
้ํ
ั
ื่
ตามธรรมชาติลดลงอยางรวดเร็ว รวมทั้งพื้นที่ปาชายเลนในแตละจังหวดลดลงไปจากเดมมาก เนองจาก
ิ
การบุกรุกเพื่อทํานากุง
2.10.4 แมวาภาคตะวันออกจะเปนแหลงเพาะปลูกผลไมหลักของประเทศ แตผลไมเปน
ผลิตผลที่มีชวงระยะเวลาในการเก็บเกี่ยว ดูแล รักษาจํากัด เมื่อพนกําหนดจะเสียหาย และเปนผลผลิตที่มี
้ํ
ชวงฤดูกาล ไมสามารถผลิตออกไดตลอดป และหากเมื่อใดขาดนาก็จะทําความเสียหายใหแกสวนผลไม
อยางรุนแรง ทําใหปริมาณผลผลิตไมแนนอน ไมมีเสถียรภาพดานราคา รวมทั้งยงขาดการบริหารจัดการ
ั
ี้
ในชวงที่ผลไมออกมามากและกระจุกตัวอยางเหมาะสมและทันเวลา ทําใหผลไมเนาเสียงาย นอกจากนยง
ั
ขาดการวิจัยและพัฒนาทั้งในดานการผลิตใหออกผลผลิตนอกฤดูการเก็บรักษา การลําเลียงถงที่หมายกอน
ึ
การเนาเสียและมีปญหาเรื่องคุณภาพมาตรฐานไมสม่ําเสมอ เชน การคัดขนาด บรรจุหีบหอ แปรรูป และ
เก็บรักษา
ั
2.10.5 การขยายตวอยางรวดเร็วของภาคอุตสาหกรรมที่ผานมา ทาใหเกิดภาวะขาด
ื่
แคลนแรงงาน ประกอบดวย แรงงานที่เคลื่อนยายเขาไมไดตอบสนองความตองการที่แทจริง เนองจาก
สวนใหญเปนแรงงานระดบลาง ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะฝมือสาหรับการผลิต
ั
ภาคอุตสาหกรรมที่มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยสูงขน นอกจากนแรงงานที่มีฝมือจะพยายามเขาสู
ี้
ี
ึ้
อุตสาหกรรมขนาดใหญที่ไดมาตรฐานและมีความมั่นคงตออนาคตในการทํางานมากกวา จึงเกิดปญหาการ
ู
ิ่
โยกยายการทํางานอยในอัตราที่สูง ตลอดจนแรงงานในทองถนไมสามารถตอบสนองความตองการได
เพียงพอ
2.10.6 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของภาคตะวันออกโดยเฉพาะอยางยิ่งดานการสงออก
ึ้
ซึ่งกําลังไดรับแรงกดดันจากมาตรการกีดกันที่ไมใชภาษเพิ่มขน เชน มาตรฐานการผลิตสินคา มาตรฐาน
ี
การดานความสะอาดและสุขอนามัย มาตรฐานแรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดลอม และมาตรฐานดานทรัพยสินทาง
ปญญา เปนตน ซึ่งไดมีการตงกฎเกณฑในการรับซื้อสินคาจากผูผลิตคอนขางมาก และมีการตรวจสอบ
ั้
ั
ั
คุณภาพอยางเขมงวด ดังนั้นเศรษฐกิจของกลุมจังหวดภาคตะวนออกที่พึ่งพาการสงออกอยางมาก จึงมี
ั
แนวโนมวาการสงออกจะมีอุปสรรคมากขึ้นในอนาคต หากผูผลิตหรือผูประกอบการไมสามารถปรับตวให
ี้
เขากับมาตรฐานเหลานจะสูญเสียโอกาสทางการตลาดไป สงผลใหผูประกอบการในกลุมจังหวดภาค
ั
ตะวันออกตองเรงปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตใหไดมาตรฐานและคุณภาพสินคาใหเปนที่ยอมรับระหวาง
ประเทศ