Page 110 -
P. 110
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
์
2-73
(3) อัตราการขยายตัวของ GPP และโครงสรางการกระจายรายไดจากการผลิตภาค
ตะวันออก
ั
ั
อัตราการขยายตวที่แทจริงในป พ.ศ. 2562 รวมทั้งภาครอยละ 1.8 สูงสุดในจังหวด
ปราจีนบุรีรอยละ 9.3 และรองลงมาคือจันทบุรี รอยละ 5.0 ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-37
ตารางที่ 2-37 อัตราขยายตัวของ GPP และโครงสรางการกระจายรายไดจากการผลิตภาคตะวันออก
(รอยละ)
จังหวัด อัตราขยายตัวที่แทจริง โครงสราง ณ ราคาประจําป
2561 2562 2561 2562
1 ชลบุร ี 4.3 2.5 34.1 34.8
2. ฉะเชิงเทรา 11.2 -1.1 13.0 12.7
3. ระยอง -1.5 -0.4 34.2 32.7
4. ตราด -5.9 2.3 1.4 1.4
5. จันทบุร ี -9.5 5.0 4.0 4.4
6. นครนายก 9.4 1.5 1.0 1.0
7. ปราจีนบุร ี 7.5 9.3 10.7 11.4
8. สระแกว 11.3 0.3 1.6 1.6
รวมทั้งภาค 2.8 1.8 100.0 100.0
ที่มา : สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2563: 15)
(4) ผลิตภัณฑจังหวัดตอหัวตอป พ.ศ. 2562 ในภาคตะวันออก
ผลิตภณฑจังหวดตอหัวตอป พ.ศ. 2562 สูงสุดของประเทศและภาคตะวนออก คอ
ื
ั
ั
ั
จังหวด ระยอง มีมูลคา 988,748 บาทตอป รองลงมาคอจังหวดชลบุรี ซึ่งเปนลําดบที่ 3 ของประเทศ
ั
ั
ั
ื
มีคา 571,2234 บาท ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-38
ตารางที่ 2-38 ผลิตภัณฑจังหวัดตอหัวตอป 2562 ในภาคตะวันออก
อันดับที่ของประเทศ จังหวัด บาทตอป
1 ระยอง 988,748
3 ชลบุร ี 571,234
4 ปราจีนบุร ี 551,150
5 ฉะเชิงเทรา 459,005
15 จันทบุร ี 239,453
22 ตราด 162,741
60 สระแกว 76,199
ที่มา : สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2563 : 22)
(5) ผลิตภัณฑมวลรวมระดับจังหวัด (GPP) ของภาคตะวันออก
ผลิตภัณฑมวลรวมระดับจังหวด (GPP) จากสาขาการผลิต นอกภาคการเกษตรสูงกวา
ั
ภาคการเกษตรทุกจังหวด โดยเฉพาะในจังหวดชลบุรี สาขาการผลิตนอกภาคการเกษตรมีมูลคาสูงถง
ั
ั
ึ
604,832 ลานบาท แตในภาคการเกษตรมีมูลคาเพียง 12,181 ลานบาท ดังรายละเอียดในตารางที่ 2-39