Page 111 -
P. 111

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                                                 2-74

               ตารางที่ 2-39 ผลิตภัณฑมวลรวมระดับจังหวัด (GPP) ของจังหวัดในภาคตะวันออก

                   จังหวัด   สาขาการผลิต                                    ป
                                                  2558       2559      2560      2561      2562
                ตราด         ภาคการเกษตร          11,384     9,250    11,399     9,963     10,390
                             ภาคนอกการเกษตร       12,779     13,152   14,591    14,603     14,738
                จันทบุร  ี   ภาคการเกษตร          24,708     21,638   26,123    22,264     22,883
                             ภาคนอกการเกษตร       28,079     29,807   33,741    32,855     35,354
                ระยอง        ภาคการเกษตร          10,442     10,347   12,101    11,119     11,305
                             ภาคนอกการเกษตร      467,624    483,381   510,137   503,453    501,150
                ชลบุร  ี     ภาคการเกษตร          10,204     11,077   12,541    13,290     12,181
                             ภาคนอกการเกษตร      522,150    554,030   565,233   589,172    604,832
                ฉะเชิงเทรา   ภาคการเกษตร          10,923     10,696   11,554    11,624     11,530
                             ภาคนอกการเกษตร      230,901    245,118   240,726   269,166    266,170
                ปราจีนบุร  ี  ภาคการเกษตร         4,509      4,724     4,441     4,551     4,609
                             ภาคนอกการเกษตร      172,860    200,451   248,116   267,052    292,473
                สระแกว      ภาคการเกษตร          5,472      5,527     6,150     7,322     7,046
                             ภาคนอกการเกษตร       18,836     19,590   20,519    22,728     22,704

               ที่มา: สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2563:61-68)

               2.9 ศักยภาพในการพัฒนา
                          ั
                                                                                              ึ
                                                                    ิ
                       สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2562: 16-18)  ไดวเคราะหถงสภาวะ
                                                                                     
                                                                                      ิ
               แวดลอมในการพัฒนาภาคตะวันออกในป 2562 ไวดังน  ี้
                              2.9.1 เปนศูนยรวมที่ตั้งของอุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศ และมีแนวโนมที่จะเติบโต
                                                                    ี
                                                             ั
                                                ู
               เปนศูนยกลางอุตสาหกรรมสมัยใหมของภมิภาคเอเซียตะวนออกเฉยงใตเนองจากไดมีการลงทุนอุตสาหกรรม
                                                                                  
                                                                          ื่
                                                                        
                                                                                   
               ขนาดใหญ และเปนอุตสาหกรรมหลักที่สําคัญของประเทศและภมิภาคอาเซียน ไดแกอุตสาหกรรมปโตร
                                                                    ู
               เคมี อุตสาหกรรมกลั่นนามัน อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมอิเล็คโทรนกสและเครื่องใชไฟฟา
                                                            
                                                                                  ิ
                                                                                                
                                    ้ํ
               รวมถึงอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในพื้นที่สืบเนื่องตอนในของจังหวัดระยอง
                                                                                             ั
                                                             
                              2.9.2 มีทาเรือน้ําลึก และระบบโครงขายการขนสงทางถนน และรถไฟที่สนบสนนการ
                                                                                                 ุ
               เปดประตูการขนสงของประเทศเขาสูระบบโครงขายการเดินเรือนานาชาติไดอยางมีประสิทธภาพ หากมี
                                                                                            ิ
                                                                              
                                                                                 
               การเพิ่มประสิทธิภาพทาเรือน้ําลึกที่มีอยู พรอมทั้งประสานโครงขายการขนสงหลักของพื้นที่บริเวณชายฝง
               ทะเลตะวันออกใหสอดคลองและเชื่อมโยงกับระบบโครงขายการขนสงหลักของกรุงเทพฯ และปริมณฑล
               ภาคกลางตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตางประเทศ จะชวยยกระดับการพัฒนาจากการเปนแค     
               ฐานการผลิตและประตูสงออกทางทะเลผานทาเรือนาลึกแหลมฉบังและมาบตาพุดในปจจุบัน เขาสูการ
                                                           ้ํ
                                                                                                
               เปนประตูเศรษฐกิจนานาชาติ รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม และเปดตลาดการคาไปสูภูมิภาคตางๆ ของ
               โลก เชน สหรัฐอเมริกาและยุโรป โดยอาศัยการขนสงเชื่อมโยงกันในรูปแบบของการขนสงตอเนองระหวาง
                                                                                         
                                                                                                    
                                                                                             ื่
               ถนน รถไฟ และทาเรือน้ําลึก
                                                                                         ิ
                                                                                    ั
                              2.9.3 เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญและเปนที่รูจักแพรหลายในระดบชาตและนานาชาต ิ
                                       ึ่
               โดยเฉพาะพัทยา-บางแสน ชงเปนเมืองทองเที่ยวที่รูจักกันในระดับนานาชาติอยูแลว นอกจากนี้ ยังมีเกาะ
                                                                                         ึ
                 
                                                                          ิ
                                                                 
                                     ั
               ชางแผนพัฒนาภาคตะวนออกและเกาะเสม็ด ที่กําลังไดรับความนยมเพิ่มขน รวมถงมีการพัฒนา
                                                                                  ึ้
               ภาพลักษณ สภาพแวดลอม และการตลาดของเมืองเพิ่มขึ้น ทําใหกระแสการเดินทางทองเที่ยวจากทั่วโลก
                                                                                                  ี้
                                                     ึ้
                                         ั
               เดินทางมายังเมืองพัทยา จังหวดชลบุรี เพิ่มขนอยางตอเนอง และมีอัตราการเตบโตสูง นอกจากนภาค
                                                         
                                                                                  ิ
                                                                ื่
                                                             
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116