Page 108 -
P. 108

์
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                            ิ
                               ื
                                  ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                                 2-71

                                                                                 ั
                                                                                                    ึ้
                                                                                              
                              ในขณะที่รายไดจากการทองเที่ยวในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก มีแนวโนมเพิ่มขน
                                                                                          
                                   ื
                                                                                                   ี่
               ตามจํานวนผูมาเยยมเยอน โดยในป พ.ศ. 2555 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออกมีรายไดจากผูมาเยยม
                               ี่
                                                                              ั
               เยือนรวม 126,403.94 ลานบาท และเพิ่มขึ้นเปน 241,126.73 ลานบาทในป พ.ศ. 2559 โดยมีอัตราการ
                                                                               ู
                                                                                              
                                    
                                             ี่
                                                          
                 ิ
                                                  ื
               เตบโตเฉลี่ยของ  รายไดจากผูมาเยยมเยอนระหวางปพ.ศ. 2555–2559อยที่รอยละ 19.91 ตอป ทั้งนี้
                                                             ั
                                                                   
                                                                                        ั
                                                         
               ในดานสัดสวนของรายไดจากผูมาเยี่ยมเยอนในแตจังหวด พบวา ในป พ.ศ. 2559 จังหวดชลบุรีมีรายได 
                                                 ื
                                         ิ
                             ื
                                                                                        ื
                                                                          
                                                                                   ี่
               จากผูมาเยี่ยมเยอนมากที่สุด คดเปนสัดสวนรอยละ 85.54 ของรายไดจากผูมาเยยมเยอนในพื้นที่ EEC
                                                                                 ื
                                                                            ี่
               ทั้งหมด รองลงมาคือ จังหวัด ระยอง และฉะเชิงเทรา มีรายได จากผูมาเยยมเยอนคดเปนรอยละ 12.70
                                                                  
                                                                                     ิ
                                ั
                                                                                             ี่
                                                                                      
                                                  
                                                        
               และ 1.76 ตามลําดบ จากการคาดการณแนวโนมการ ทองเที่ยวในพื้นที่ EEC พบวา ผูมาเยยมเยอนมี
                                                                                                  ื
               แนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 29.89 ลานคน ในปพ.ศ. 2560 เปน 46.72 ลานคน ในป พ.ศ. 2564 และคาดวาจะมี
               รายไดจากการทองเที่ยวเพิ่มขึ้นจาก 285,572 ลานบาท ใน พ.ศ. 2560 เปน 508,590 ลานบาท ในป พ.ศ. 2564

               2.8 สภาพเศรษฐกิจของภาคตะวันออก
                       2.8.1 ภาพรวม
                                                     ั
                            ั
                       ผลิตภณฑภาค (GRP) ป 2562 ขยายตวรอยละ 1.8 ชะลอตวลงเมื่อเทียบกับการขยายตวรอยละ 2.8
                                                                     ั
                                                                                            ั
                                                                                                ั
                           ื่
               ในป 2561 เนองจากการผลิตภาคนอกเกษตร ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 93.9 ของผลิตภณฑภาคตะวนออก
                                                                                      ั
                                                                            
                                                      ั
               ขยายตวรอยละ 1.9 ชะลอตวจากการขยายตวรอยละ 3.5  ในปกอนหนา สําหรับการผลิตภาคเกษตร
                                       ั
                     ั
               มีสัดสวนรอยละ 6.1 ของผลิตภัณฑภาคตะวันออก ขยายตัวรอยละ 0.5 เทียบกับที่ลดลงรอยละ 6.5 ในป 2561
                              การผลิตภาคเกษตร
                              ขยายตวรอยละ 0.5 จากที่ลดลงรอยละ 6.5 ในป 2561 เนองจากการเพาะปลูก
                                    ั
                                                                                  ื่
               การเลี้ยงสัตวและกิจกรรมบริการที่เกี่ยวของ ขยายตวรอยละ 0.7 เทียบกับการลดลงรอยละ 7.1 ในปกอนหนา
                                                                                                     
                                                        ั
               โดยผลผลิตพืชสําคัญที่เพิ่มขึ้น ไดแก ผลไม และยางพารา สวนการเลี้ยงปศุสัตวลดลงจากผลผลิต ของการ
                                                                    ื่
               เลี้ยงสัตวปกและสุกร สวนการประมงลดลงรอยละ 0.6 ตอเนองจากการลดลงรอยละ 3.0 ในป 2561
                                                                
                       
               ตามผลผลิตประมงทะเล
                              การผลิตภาคนอกเกษตร
                              ขยายตัวรอยละ 1.9 ชะลอลงจากที่ขยายตัว รอยละ 3.5  ในป 2561 เปนผลมาจากการ
                               ั
                                                                                                    ั
                                                                              ั
                                                                                        ั
                                   ื
               ผลิตในสาขาที่สําคญ คอ สาขาอุตสาหกรรม ซึ่งมีสัดสวนสูงสุดของผลิตภณฑภาคตะวนออก ขยายตว
                                              ั
                                                                                                  ั
               รอยละ 0.1 ชะลอลงจากที่ขยายตวรอยละ 3.8 ในป2561 มีสาเหตหลักมาจากการผลิตผลิตภณฑ
                                                                          ุ
                                               ั
                                                                     
               คอมพิวเตอร อิเล็กทรอนกสฯ ชะลอตวลงเมื่อเทียบกับปกอนหนา ขณะที่การผลิตยานยนตและการผลิต
                                                                                           
                                     ิ
               ผลิตภัณฑจากการกลั่น ปโตรเลียมลดลง นอกจากนี้ สาขาการผลิตที่ขยายตัว ไดแก สาขาการทําเหมืองแร
               และเหมืองหิน (รอยละ 0.9) สาขาไฟฟา กาซฯ (รอยละ 2.0) สาขาที่พักแรมและบริการดานอาหาร
                                                                 ั
               (รอยละ 10.5) สาขากิจกรรมทางการเงินและการประกันภย (รอยละ 7.0) สาขาการกอสราง (รอยละ
               10.7) สาขากิจกรรมวิชาชีพฯ (รอยละ 9.0) และสาขาศิลปะ ความบันเทิงและนันทนาการ (รอยละ 14.0)
               สาขาการผลิตที่ชะลอลง ไดแก สาขาการขายสง และการขายปลีกฯ (รอยละ 5.2) สาขากรขนสงและ
                                       
                                                                          
                             
               สถานที่เก็บสินคา (รอยละ 4.5) สาขากิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยฯ (รอยละ 4.2) สาขาการบริหาร
                                                                                    
               ราชการฯ (รอยละ 2.0) สาขากิจกรรมดานสุขภาพฯ (รอยละ  6.5)  สาขาขอมูลขาวสารและการสื่อสาร
                                                                              
                                                 
                                                          ั
               (รอยละ 7.5) สาขากิจกรรมการบริหารและบริการสนบสนนอื่นๆ (รอยละ 0.6) สาขากิจกรรมการบริการ
                                                              ุ
                 
               ดานอื่นๆ (รอยละ 2.2) และสาขาการประปาและการจัดการของเสีย (รอยละ 3.3) สวนสาขาการผลิตที่
               ลดลง ไดแก สาขาการศึกษา ลดลงรอยละ 2.7 เทียบกับที่ลดลงรอยละ 0.6 ในป 2561
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113