Page 112 -
P. 112

ิ
                                               ์
                                  ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                                                                                 2-75

                                                                               ิ
                   ั
                          ั
                                                                                                ู
                                                            ้ํ
                                                                                              ึ
                                             ิ
               ตะวนออกยงมีทรัพยากรธรรมชาตประเภทปาเขานาตก อุทยานแหงชาต และทะเล ที่จะดงดดและ
                                                                                   ิ
               ใหบริการนักทองเที่ยวได โดยมีพื้นที่หลายแหงที่มีสภาพภมิอากาศและธรรมชาตที่เหมาะตอการพัฒนา
                                                                                           
                                                               ู
               เปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ  ที่สามารถจัดกิจกรรมไดหลายอยางทั้งการทองเที่ยวแบบผจญภัย ทัวรปา
                                                       ิ
                         
               ลองแกง เชน การทองเที่ยวในอุทยานแหงชาตเขาคชฌกูฏ การลองแกงที่อําเภอโปงนารอน จันทบุรี
                                                            ิ
                                                                                         ้ํ
               ตลอดจนในชวงฤดูผลไมจะเปนชวงที่จูงใจใหนักทองเที่ยวไดเขาเที่ยวชมสวน และบริโภคผลไม
                                                                                            ุ
                              2.9.4 เปนแหลงเพาะปลูกผลไมหลักของประเทศ โดยเฉพาะทุเรียน มังคด และเงาะ
               ซึ่งมีปริมาณการผลิตมากพอสาหรับใชบริโภคภายในประเทศ และสงออกไปยังตางประเทศ สามารถสราง
               รายไดใหแกทองถิ่นจํานวนมาก นอกจากนี้ พื้นที่นี้ยังมีพื้นที่ชายฝงทะเลที่เหมาะแกการทําประมงนาลึก
                                                                                                  ้ํ
               และการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง
                              2.9.5 เปนแหลงเจียระไนอัญมณีที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียง โดยไดมีการฝกฝนฝมือดาน
                                                                                    
                                                                                                   
               การเจียระไนจนเกิดความชํานาญ และมีการใชวทยาการตางๆ เพื่อเพิ่มคณคาของอัญมณ สงผลใหภาค
                                                                                          ี
                                                                               
                                                                            ุ
                                                                
                                                      
                                                       ิ
                                                                 ุ
                                                             
                                                                                ั
                                                                           ี
               ตะวันออกโดยเฉพาะจันทบุรีเปนแหลงเจียระไน และยานธรกิจอัญมณที่สําคญของประเทศ ที่สามารถ
                                                                                ี่
               สนับสนุนเชื่อมโยงไปสูการพัฒนาทางดานการทองเที่ยว ซึ่งนักทองเที่ยวที่มาเยยมชมแหลงทองเที่ยวของ
               พื้นที่สามารถซื้อกลับไปเปนของที่ระลึกได  
                                             ิ
                              2.9.6 มีพรมแดนตดกับชายแดนกัมพูชา ซึ่งเปนจุดการคาชายแดนที่อยใกลกรุงเทพฯ
                                                                             
                                                                                          ู
                                                                                         
               ปริมณฑล และพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับจุดการคาชายแดนอื่นๆ
               ของประเทศ ประกอบกับตงอยในเสนทางสูภาคตะวนออกเฉยงเหนอ ทําใหสามารถเขาถงตลาดทั้งใน
                                      ั้
                                                                                           ึ
                                                                                         
                                                            ั
                                                                   ี
                                          ู
                                                                         ื
               กรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ตลอดจนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกัมพูชา-
               เวียดนามได  

               2.10 ปญหาที่ตองมีการแกไข
                       สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2562: 17-18)  ไดรายงานถงจุดออน
                                                                                      
                                                                     ิ
                          ั
                                                                                              ึ
               ในการพัฒนาภาคตะวันออกไวดังน  ี้
                              2.10.1 การพัฒนาอุตสาหกรรมตางๆ ของภาครัฐและเอกชนบางแหงเริ่มมีปญหาเรื่อง
               การบริหารจัดการดานมลพิษที่เกิดขนจากกระบวนการผลิต ไดแก ปญหามลพิษทางอากาศจาก
                                                                        
                                 
                                                ึ้
                                       ิ
               อุตสาหกรรมในเขตพื้นที่นคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ปญหาการจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม
                                                                      
               และปญหาการบําบัดน้ําเสียและสารโลหะหนักที่ลงไปในแหลงนาตางๆ โดยเฉพาะอางเก็บนาดอกกราย
                                                                    ้ํ
                                                                                            ้ํ
               นอกจากนี้ เริ่มเกิดความขัดแยง เนื่องจากไดมีการปลอยมลพิษลงสูแหลงนาเพื่อการอุปโภคบริโภคและ
                                                                             ้ํ
                                                    
               เกษตรกรรมของประชาชนอยางกวางขวาง
                                                                                             
                              2.10.2 การขยายตวของเมือง แหลงอุตสาหกรรม และแหลงทองเที่ยวอยางรวดเร็ว
                                              ั
               ไดสงผลใหเกิดความตองการใชน้ําเพื่อนํามาใชในกระบวนการผลิต บริการ และอุปโภคบริโภคปริมาณมาก
               กอใหเกิดความขัดแยงเรื่องการใชน้ํา เดิมแหลงน้ําจะถูกใชเพื่อกิจกรรมการเกษตรและชุมชนเกษตรขนาด
                                                                                            ั
               เล็กเทานั้น ปจจุบันตองแยงกันใชน้ําระหวางภาคเกษตร อุตสาหกรรม เมืองและบริการแกนกทองเที่ยว
                                                               
               แมวาจะมีการพัฒนาแหลงนารองรับไวแลวบางสวน แตดวยขอจํากัดของภมิประเทศ ทําใหไมสามารถ
                   
                                                 
                                                                               ู
                                                                    
                                        ้ํ
                                                                
                                                                                                ํ
                                         
                                                                                    
                                                                          
                                                                                           ู
                                                                                                  ้ํ
               กอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญได จึงตองมีการวางทอสงน้ําเชื่อมโยงระหวางอางเก็บนาที่มีอยเพื่อนานามา
                                                                                          ้ํ
                                                                           
                                                                   
                                                      ้ํ
               ทดแทนในบางพื้นที่ยามขาดแคลนปริมาณนาไมเพียงพอตอความตองการ ปริมาณนาทาของภาค
               ตะวนออกมาจากลุมนาหลัก 3 แหง คอ ลุมนาบางปะกง ลุมนาโตนเลสาบ และลุมนาชายฝงทะเล
                                                 ื
                   ั
                                   ้ํ
                                                       ้ํ
                                                                      ้ํ
                                                                                         ้ํ
                                                                                         
                                                                                                    ้ํ
               ตะวันออกมีคารายปเฉลี่ย 23,882 ลานลูกบาศกเมตร จากสถตปริมาณการเก็บกักนาไดของอางเก็บนา
                                                                   ิ
                                                                    ิ
                                                                                      ้ํ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117