Page 7 -
P. 7
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
จ
กฎระเบียบ มาตรฐาน ด้านปาล์มน้ำมัน ซึ่งกรอบการวิจัยและแผนยุทธศาสตร์นี้ จะทำให้การดำเนินงานของ
ศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) สามารถตอบสนองตอความตองการและ
้
่
ความคาดหวังของผู้ประกอบการ ตลอดจน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ ให้มีโอกาสในการเข้าถึงการส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนางานวิจัยต่อไปในอนาคต
ุ่
นอกจากนี้ การสร้างเครือข่าย กลไก และกระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน (กลม
เกษตรกร กลุ่มธุรกิจ) ภาคการศึกษา และภาคประชาสังคม (Quadruple Helix) ขึ้นเป็นส่วนสำคัญในการสร้าง
ความเข้มแข็งของระบบการวิจัย (Research eco-system) ของพื้นท โดยจะต้องมีหน่วยงานกลางมาสนับสนุน
ี่
ู
่
ทุนทำหน้าที่ในการประสานงานและเป็นตัวกลางในการกำกับดแลให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานตาง ๆ
ในทุกขั้นตอน โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบของการสนับสนุนทุนการวิจัยให้เป็นไปในระดับของโปรแกรม
(Program Base) แทนการพิจารณาระดับโครงการ (Project Base) เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันระหว่าง
ุ
กลุ่มนักวิจัย (Consortium) ที่ต้องยื่นขอทุนสนับสนุนและแก้โจทย์ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่มแทนการให้ทน
นักวิจัยทีละโครงการเป็นรายบุคคล มีการกำหนดกลไกในการใช้งานอุปกรณ์การวิจัยร่วมกันในพื้นที่ใกล้เคียง
(Sharing Equipment) ทั้งจากสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา หรือศูนย์วิจัย (Center of Excellence) ต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
โครงการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) มีประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คือ สามารถกำหนดแนวทางและประเด็นในการวิจยและ
ั
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำที่เหมาะสม เพื่อนำมาใช้ในการสนับสนุน
การจัดสรรงบประมาณสำหรับการวิจัยและพัฒนาปาล์มน้ำมันของประเทศ สามารถจัดสรรทุนงบประมาณ
สนับสนุนสำหรับงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันได้อย่างเหมาะสมกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย และ
สามารถสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ SEC ด้านอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปการเกษตรมูลค่าสูงตาม
้
ทรัพยากรในพื้นที่ไดอย่างเหมาะสม ตรงตามทิศทางการพัฒนาด้านการวิจัยและการเกษตรของประเทศ
โดยงานวิจัยนี้เป็นการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อใช้ในการบริหารจัดการงานวิจัยในพื้นที่และ
กำหนดกรอบการวิจัยเพื่อให้งานวิจัยเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจน มุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ซึ่งจะมีผู้ใช ้
ี่
ประโยชน์ในหลายระดับ เนื่องจากงานวิจัยทจะมีการพัฒนาตามกรอบในอนาคตสามารถตอบโจทย์ไดในหลาย
้
กลุ่ม โดยสามารถจำแนกประโยชน์ของการนำงานวิจัยไปใช้ตามกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ได้ ดังนี้
1. เกษตรกร ได้โจทย์งานวิจัยที่ตอบปัญหา อุปสรรค ของกลุ่มผู้ปลูกปาล์ม และมีแนวทางในการบริหาร
จัดการสวนปาล์มน้ำมันในพื้นที่ ตามกรอบการวิจัยที่ 1. พื้นฐานองค์ประกอบของปาล์มน้ำมันและ
น้ำมันปาล์ม 2. การจัดการสวนปาล์มอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เครื่องมือ อุปกรณ์ นวัตกรรมการบริหาร
้
จัดการสวนปาล์ม 4. วิศวกรรม นวัตกรรมและการจัดการวัสดุเหลือใช และ 6. เศรษฐศาสตร์เกษตร
สังคม การตลาด และโลจิสติกส ์
2. หน่วยงานรัฐ มีแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบยง
ี
เศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ให้รองรับกับการพัฒนาอุตสาหกรรมฐานชีวภาพและการแปรรูปการเกษตร
มูลค่าสูงจากปาล์มน้ำมันตามนโยบาย BCG โดยหน่วยงานรัฐจะมีโจทย์งานวิจัยที่ครอบคลุมกับความ