Page 5 -
P. 5
ิ
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ค
วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อศึกษาทิศทางและประมวลผลการให้ทุนวิจัยของประเทศในเรื่องปาล์มน้ำมันตั้งแตปี พ.ศ. 2551 -
่
2562 ทั้งในส่วนของแผนงานมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศโดยเร่งด่วนของ สวก. และ
งบประมาณงานวิจัยปกติ (วช.)
2. เพื่อรวบรวมปัญหาและสถานการณ์เรื่องปาล์มน้ำมันในปัจจุบันจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวงจรห่วงโซ่
การผลิต ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ และการตลาด ในแต่ละช่วงระยะเวลา
3. เพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องและโครงสร้างพื้นฐานของการทำวิจัย ตลอดจนสภาพปัญหาที่มีอยู่ใน
ปัจจุบันและสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
4. เพื่อเสนอแนวทางและให้ลำดับความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณสำหรับงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์ม
น้ำมันที่เหมาะสมกับความต้องการพัฒนาเกษตรกรรมของประเทศไทยในอนาคต และกำหนดให้มี
การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการของหน่วยงานในพื้นท ี่
5. เพื่อศึกษาและจดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อมุ่งสู่ฐานการพัฒนา SECr ในแต่ละช่วงระยะเวลา
ั
ระเบียบวิธีวิจัย
ี่
ระเบียบวิธีวิจัยของโครงการ คือ การทบทวนนโยบาย ศึกษาสถานภาพของพื้นท คัดเลือกหัวข้อการวิจัยทมี
ี่
ี่
ศักยภาพในพื้นท (ปาล์มน้ำมัน) จากนั้นจึงจะทบทวนงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันในอดีต (พ.ศ. 2551 -
ิ
2562) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิต รวมถึงรวบรวมข้อมูลปัญหาของอุตสาหกรรมและศึกษาหาแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาใช้กำหนดทิศทางและจัดทำแผนยุทธศาสตร์การวิจัย
เพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบยงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) โดยจะใชการเก็บรวบรวม
้
ี
ข้อมูลเชิงคณภาพจากเอกสารชั้นตนและเอกสารชนรอง ตลอดจน การสัมภาษณและการสนทนากลุ่ม (Focus
้
์
ั้
ุ
Group Discussion)
ผลการวิจัย
จากการรวบรวมผลงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาลมน้ำมันในปี พ.ศ. 2551 - 2563 ได้สะท้อนให้เห็นว่าในระยะเวลา
์
13 ปีที่ผ่านมานั้น มีการจัดสรรงบประมาณจำนวนทั้งหมด 762.35 ล้านบาท ซึ่งสามารถสร้างผลงานวิจัยได ้
จำนวน 500 โครงการ โดยสามารถแบ่งออกเป็นภาคการผลิต 647.28 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
84.91 ประกอบด้วย ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ คิดเป็นร้อยละ 56.83, 0.76 และ 27.32 ของงบการวิจัย
เรื่องปาล์มน้ำมันทั้งหมด ตามลำดับ ส่วนภาคการตลาด และนโยบาย ได้รับงบจำนวน 13.11 และ 101.96 ล้าน
ิ
บาท ตามลำดับ โดยผลงานการวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันนี้จะเน้นในด้านของการพัฒนาผลตภัณฑ์ให้มีความ
หลากหลาย ตรงตามความต้องการของผบริโภคเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม ซึ่งจะ
ู้
สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตได้อย่างมาก แต่เมื่อเปรียบเทียบการวิจัยของประเทศไทย
มาเลเซีย และอินโดนีเซีย จากการทบทวนกรอบการวิจัยของประเทศต่าง ๆ จะพบว่า กรอบการวิจัยของ
ี่
ประเทศไทยเป็นไปอย่างค่อนข้างกว้างเมื่อเปรียบเทียบกับกรอบการวิจัยของประเทศมาเลเซียทลงรายละเอียด
ลึกค่อนข้างมาก ส่วนอินโดนีเซียมีความใกล้เคียงกับประเทศไทย โดยกรอบการวิจัยของแต่ละประเทศจะเป็นไป