Page 6 -
P. 6

ิ
                               ิ
                                             ์
                                                                              ิ
                                                                  ิ
            โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                            ื
                                                         ง
            เพื่อตอบสนองการแก้ปัญหาที่ประเทศนั้น ๆ กำลังเผชิญอยู่ และเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในอนาคต

            โดยเฉพาะกรอบการวิจัยของมาเลเซียที่สามารถครอบคลุมการแก้ปัญหาและการพัฒนาทั้งอุตสาหกรรม
                สำหรับปัญหาและสถานการณ์เรื่องปาล์มน้ำมันในปัจจุบัน พบว่า สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ

                                                                                                      ิ
                                                         ี่
            ได้แก่ 1. ปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์ม (ต้นน้ำ) ทขาดความรู้ในการจัดการสวนปาล์มและการจัดการเชง
                                                                                            ี่
            พื้นที่อย่างถูกต้อง มีการปลูกปาล์มดวยพันธุ์ที่ไม่ได้มาตรฐานซึ่งให้ผลผลิตต่ำ ประกอบกับการทเกษตรกรไม่มี
                                           ้
                                                                     ์
            อำนาจในการต่อรองเนื่องจากเป็นเกษตรกรรายย่อย ทำให้สวนปาลมไทยมีต้นทุนต่อหน่วยสูงมาก 2. ปัญหา
            ของผู้ประกอบการลานเท (ต้นน้ำ) เนื่องจากลานเทไม่ได้มาตรฐานจากการรับซื้อผลปาล์มตดราคาโรงงานสกัด
                                                                                       ั
            แต่มีการรดน้ำ สาดทราย และบ่มปาล์มโดยใช้สารเคมี 3. ปัญหาของโรงงานอุตสาหกรรมต่อเนื่อง (โรงงานสกัด

            น้ำมันปาล์ม โรงงานแปรรูปปาล์มน้ำมัน) จากการขาดมาตรการในการสร้างสมดุลระหว่างผลผลิตและกำลง
                                                                                                      ั
                                                                                    ี่
            การผลิตของโรงงานสกัด ไม่มีการควบคุมให้ซื้อขายผลปาล์มตามคุณภาพ และการทวัตถุดิบปาล์มน้ำมันมี
                                                                                                 ี่
                                                                                                      ่
            จำนวนน้อยและราคาสูงกว่าตลาดโลก ทำให้ขาดแรงจูงใจในการลงทุนเพื่อสร้างอุตสาหกรรมต่อเนื่องทมีมูลคา
            สูง และ 4. ปัญหาของโครงสร้างสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จากการขาดหน่วยงาน
            ควบคุมดูแลจัดการเกี่ยวกับปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มอย่างเป็นระบบ

                และจากการรวบรวมและสอบถามผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน เช่น นักวิจัย ตัวแทนภาครัฐ

            ตัวแทนภาคเอกชน และเกษตรกร นั้น พบว่า การวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันในภาพรวมของประเทศไทยยังไม่มี
                                                                                                ์
            ประสิทธิภาพเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากการที่ไม่มีเป้าหมายในภาพรวม เป็นผลให้งานวิจัยกลุ่มเรื่องปาลมน้ำมัน
            ในอดีตที่ผ่านมามีความหลากหลายและมีบางส่วนที่ซ้ำซ้อนกัน อีกทั้ง งบประมาณและบุคลากรนั้นมี
            การเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี เป็นผลให้ผลงานวิจัยไม่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ดังนั้น เพื่อให้การวิจัย

            กลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันมีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของประเทศและความต้องการของตลาดทั้งในและ

                                                                                    ั
                                                                        ิ
            ต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีความรู้ความสามารถในการผลตและบริหารจดการผลผลตไดอย่างมี
                                                                                                 ้
                                                                                              ิ
            ประสิทธิภาพ จึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการร่วมกันกำหนดแนวทาง
            การพัฒนาการวิจัยปาล์มน้ำมันเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม
                                                                                           ิ
                                                                                                ี่
                                                                                        ั
                ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจยเชงพื้นทระเบียง
                                                                                                      ้
                                                                                             ี่
            เศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ขึ้น โดยมีวิสัยทัศน์ คือ “เป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศดานการวิจัยเชิงพื้นทในภาคใตท ี่
                                                                             ้
            สร้างความมั่นคงด้านการเกษตรและธุรกิจต่อเนื่องในระยะยาว” ซึ่งจะประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
            1. กำหนดทิศทางการวิจัยเชิงพื้นที่เชื่อมโยงกับความต้องการบนหลักของเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์
                                                                      ี่
            2. สนับสนุนการสร้างช่องทางการขยายผลงานวิจัยไปสู่การผลิตในพื้นท 3. พัฒนาเส้นทางอาชีพต่อยอดนักวิจย
                                                                                                      ั
            และเชื่อมโยงการวิจัยแบบบูรณาการ และ 4. พัฒนากลไกความร่วมมือเครือข่ายงานวิจัย โดยในยุทธศาสตร์ที่ 1
            จะต้องมีการจัดทำกรอบการวิจัย โดยในโครงการนี้จะเน้นการศึกษาเพื่อจัดทำกรอบการวิจัยเกี่ยวกับปาลม
                                                                                                      ์
            น้ำมัน ซึ่งเป็นพืชผลทางการเกษตรที่มีศักยภาพของพื้นที่ โดยได้กำหนดกรอบการวิจัยไว้ทั้งหมด 7 กรอบ ได้แก่

            1. พื้นฐานองค์ประกอบของปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม 2. การจัดการสวนปาล์มอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                                                                      ื
            3. เครื่องมือ อุปกรณ์ นวัตกรรมการบริหารจัดการสวนปาล์ม 4. วิศวกรรม นวัตกรรมและการจัดการวัสดเหลอ
                                                                                                  ุ
                                                                                        ์
            ใช 5. เทคโนโลยีโอลิโอเคมิคอล 6. เศรษฐศาสตร์เกษตร สังคม การตลาด และโลจิสติกส และ 7. นโยบาย
              ้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11