Page 14 -
P. 14
์
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ฏ
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทิศทางการวางกรอบยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความ
เชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ซึ่งจากการศึกษาศักยภาพของพื้นที่ พบว่า พื้นท ี่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตมีความโดดเด่นในด้านของการเกษตรกรรมปาล์มน้ำมัน ยางพารา สัตว์น้ำเศรษฐกิจ
้
และอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรต่าง ๆ โดยในการศึกษานี้จะมุ่งเน้นที่ปาล์มน้ำมันเป็นหลัก จาก
ั
้
้
การทบทวนงานวิจัยกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันในอดีตเพื่อวิเคราะห์ถึงแนวโน้มการสนับสนุนงานวิจย ไดสะทอนให้
เห็นว่าในระยะเวลา 13 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551 - 2563) มีการจัดสรรงบประมาณจำนวนทั้งหมด 762 ล้านบาท
ี่
สามารถสร้างผลงานวิจัยได้จำนวน 500 โครงการ โดยมุ่งเน้นทภาคการผลิตถึงร้อยละ 85 ของงบประมาณ
การวิจัยในกลุ่มเรื่องปาล์มน้ำมันทั้งหมด โดยเฉพาะในกลุ่มงานวิจัยพันธุ์ปาล์ม (ร้อยละ 38) เศษวัสดุเหลือใช ้
(ร้อยละ 19) และเขตกรรมสวนปาล์ม (ร้อยละ 13) ซึ่งยังไม่ครอบคลุมงานวิจัยเกี่ยวกับปาล์มน้ำมันทั้งระบบ
เท่าที่ควร ดังนั้น จึงต้องมีการวางนโยบายการจัดการให้ครอบคลุมทุกด้านเพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลอน
ื่
งานวิจัยในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตต่อไปในอนาคต
้
ิ
ั
ี่
ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์การวิจัยเพื่อการพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจยเชงพื้นทระเบียง
ื่
ิ
ี่
เศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) ซึ่งจะประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. กำหนดทิศทางการวิจัยเชงพื้นทเชอมโยง
กับความต้องการบนหลักของเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. สนับสนุนการสร้างช่องทางการขยาย
ผลงานวิจัยไปสู่การผลิตในพื้นท 3. พัฒนาเส้นทางอาชีพต่อยอดนักวิจัยและเชื่อมโยงการวิจัยแบบบูรณาการ
ี่
และ 4. พัฒนากลไกความร่วมมือเครือข่ายงานวิจัย โดยกำหนดกรอบการวิจัยของปาล์มน้ำมัน (ตามยุทธศาสตร์
ที่ 1) ไว้ทั้งหมด 7 กรอบ ได้แก่ 1. พื้นฐานองค์ประกอบของปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์ม 2. การจัดการสวน
ปาล์มอย่างมีประสิทธิภาพ 3. เครื่องมือ อุปกรณ์ นวัตกรรมการบริหารจัดการสวนปาล์ม 4. วิศวกรรม
้
นวัตกรรมและการจัดการวัสดุเหลือใช 5. เทคโนโลยีโอลิโอเคมิคอล 6. เศรษฐศาสตร์เกษตร สังคม การตลาด
และโลจิสติกส และ 7. นโยบาย กฎระเบียบ มาตรฐาน ด้านปาล์มน้ำมัน ซึ่งกรอบการวิจัยและแผนยุทธศาสตร์
์
นี้ จะทำให้การดำเนินงานของศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (SECr) สามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้ประกอบการ ตลอดจน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ ให้มี
โอกาสในการเข้าถึงการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนางานวิจัย และในระยะต่อไปจะต้องมีการดำเนินการ
กำหนดกรอบการวิจัยของยางพาราและสัตว์น้ำเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพของพื้นที่ต่อไป
ั
คำสำคัญ: แผนยุทธศาสตร์การวิจัย, ยุทธศาสตร์เชิงพื้นท, กลุ่มระเบียงเศรษฐกิจ, ศูนย์ความเชี่ยวชาญการวิจย
ี่
ี่
เชิงพื้นท, การวิจัยเชิงพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต, ปาล์มน้ำมัน และ งบประมาณการวิจัย
้