Page 51 -
P. 51

ิ
                              ื
                                                                   ิ
                                 ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                           ิ
                                               ์
                          อุปสรรคทางการคาที่ไมใชภาษี (Non-Tariff Barriers) ซึ่งเปนมาตรการของประเทศคูคา เขามามี

                    บทบาทมากขึ้น โดยมาตรการที่ไมใชภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs) ภายใตกรอบ WTO ที่เขามามี

                    บทบาทเพิ่มมากขึ้น สามารถสรุปไดดังนี้ (ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน และคณะ, 2557)


                              ก.  มาตรการ TBT (Technical Barriers to Trade) ซึ่งเปนมาตรการดานการติดฉลาก การคัด
                    แยก การบรรจุภัณฑ และการบงบอกขอมูลที่เกี่ยวกับสินคาและกระบวนการผลิต

                              ข.  มาตรการที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของสินคาที่มีตอสุขภาพอนามัยของผูบริโภคและ

                    ประชาชน รวมถึงกระบวนการผลิตที่ปลอดภัย (Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) เชนกรณี

                    ของแตละประเทศที่มีการตรวจใบรับรองวิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice:

                    GAP) และตรวจสุขอนามัย (Phytosanitary Check) ของมะมวงน้ำดอกไมนำเขา

                              ค.  มาตรการคุมครองทรัพยสินทางปญญา (Trade-Related Intellectual Properties: TRIPS)

                    พบวาในปจจุบัน มะมวงน้ำดอกไมไดมีการขยายพันธุและนำไปปลูกในประเทศเพื่อนบาน ดังนั้นจึงทำให
                    เกษตรกรผูปลูกมะมวงน้ำดอกไมไทย เกิดความวิตกวาอาจมีการขอจดสิทธิบัตรมะมวงน้ำดอกไมเปน ของ

                    ตางประเทศ

                                                           
                              ง.  ระเบียบวิธีการออกใบอนุญาตนำเขา (Import Licensing Procedures) เชน กรณีผูประกอบการ
                    นำเขามะมวงสดของมาเลเซีย จะตองไดรับใบอนุญาตนำเขาจากกระทรวงเกษตรฯ ของมาเลเซีย โดยทั่วไป

                    ใบอนุญาตจะมีอายุ 3 เดือน เปนตน

                          6)  ปญหาจากโรคระบาดโควิด 19 ที่สงผลกระทบตอการสงออกมะมวง


                          ชวงระยะเริ่มตนของการเริ่มระบาดโรคโควิด 19 ถือวาไมสงผลกระทบตอการสงออกมะมวงของไทย

                    โดยทางกรมเจรจาการคาเปดเผยวา มะมวงสดของไทยเปนหนึ่งในสินคาที่ทำยอดสงออกขยายตัวไดดี ถึงแมอยู
                    ในชวงสถานการณวิกฤติการระบาด โดยในชวง 5 เดือนแรก (ม.ค. – พ.ค.) ของป 2563  ประเทศไทยสามารถ

                    สงออกมะมวงสดปริมาณ 57,550.17 ตัน ขยายตัวเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันในป พ.ศ. 2562 ในทางเดียวกน
                                                                                                       ั
                    ตลอดป พ.ศ. 2563 ปริมาณการสงออกยังปรับตัวเพมสูงขึ้นจาก 58,509.03 ตัน ในป 2562 เปน 87,260.01 ตัน
                                                           ิ่
                    ในป 2563 ดังแสดงใน ตารางที่ 4.6 และ รูปที่ 4.10 โดยการสงออกมะมวงไปตลาดอาเซียนขยายตัวโดดเดน

                    ที่สุด มีสัดสวนอยูที่รอยละ 37.5 ของการสงออกทั้งหมด ซึ่งตลาดหลักในการสงออกมะมวงสด เชน มาเลเซย
                                                                                                       ี
                    เวียดนาม และ สปป.ลาว มีการสงออกทขยายตัวขึ้นจากป 2562 โดยมีปริมาณการสงออกมะมวงสดไปมาเลเซีย
                                                  ี่
                    เพิ่มขึ้นจาก 14,399.46 ตัน ในป 2562 เปน 45,007.56 ตัน ในป 2563 และมีการสงออกมะมวงสดไป สปป.

                    ลาว เพิ่มขึ้นจาก 5,876.07 ตัน ในป 2562 เปน 7,126.44 ตัน ในป 2563 ดังแสดงในตารางที่ 4.6 -ตารางที่ 4.7

                                                                               ึ้
                    และรูปที่ 4.10 - รูปที่ 4.12 และยังมีประเทศจีนที่นิยมมะมวงสดจากไทยเพมขน โดยประเทศไทยมีขอไดเปรียบ
                                                                             ิ่



                                                            4-12
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56