Page 50 -
P. 50

ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                ิ
                                                                   ิ
                          3)  ปญหาตนทุนการผลิตของเกษตรกร


                          ตนทุนการผลิตของเกษตรกรผูปลูกมะมวง ประกอบดวย ตนทุนคงที่และตนทนผันแปร ตนทุนสวนที่ควร
                                                                                    ุ
                                                                                   ั
                    เขาไปวางแผนลดตนทุนการผลิตนั้นเปนสวนของตนทุนผันแปร ซึ่งเปนตนทุนขึ้นอยูกบปริมาณของผลผลิต ไดแก  
                                                                                                      

                    คาปุย คาสารเคมี คาถุงหอมะมวง เปนตน ทั้งนี้ปญหาที่พบสวนใหญ ประกอบดวย (ศรินทร ทองอินทร, 2558)
                              ก.  ปญหาตนทุนการใชปุย เกิดจากเกษตรกรไมไดวิเคราะหปริมาณแรธาตุในดิน จึงใสปุยตามสูตร

                    ที่มีขายในทองตลาด ซึ่งทำใหพืชไดรับแรธาตุบางชนิดมากหรือนอยเกินไป และเกษตรกรใสปุยใหกับมะมวงตน

                    ใหญและมะมวงตนเล็กในปริมาณที่เทากัน ทั้งที่มะมวงตนใหญมีธาตุอาหารตาง ๆ สะสมมากกวาในมะมวงตน

                    เล็ก โดยมีแนวทางในการแกไขปญหา คือ เกษตรกรควรใชปุยเคมีแบบสั่งตัด เพื่อจัดการธาตุอาหารพืชใหมี
                    ปริมาณเหมาะสมกับพื้นที่เพาะปลูก การใชปุยสั่งตัดชวยใหเกษตรกรตัดสินใจใชปุยไดอยางถกตองและเหมาะสม
                                                                                         ู
                    กับปริมาณแรธาตุที่มีอยูในดิน ทำใหตนทุนคาปุยลดลง ในขณะที่ผลผลิตเพิ่มขึ้น สงผลใหเกษตรกรมีกำไรมากขึ้น


                              ข.  ปญหาเรื่องตนทุนการใชสารเคมี เกษตรกรใชสารเคมีดวยความรูความเขาใจที่ไมถูกตองไม 

                    เหมาะสมตอสภาพการเพาะปลูกมะมวงในปจจุบัน มีแนวทางในการแกไขปญหา คือ เกษตรกรตองหมั่น

                    ติดตามขาวสารความรูตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการดูแลสวนมะมวงอยางสม่ำเสมอ แลวนำขอมูลและ
                    แนวทางปฏิบัติตาง ๆ มาวิเคราะหและประยุกตใชใหเหมาะสมตอสภาพสวนมะมวงของตนเอง หรือใชวิธีทาง

                    ธรรมชาติชวยในการกำจัดศัตรูพืช ทำใหลดคาใชจายในการซื้อสารเคมีบางชนิดลง สามารถลดตนทุนการผลิต

                    และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม


                                    
                          4)  ปญหาขอมลและการวางแผนการตลาดของเกษตรกร
                                       ู
                          ปญหาที่พบตลอดระยะเวลาที่ผานมา พบวา ในบางชวงเวลาปริมาณมะมวงที่ผานมาตรฐานมีไม

                    เพียงพอตอความตองการของตลาด สวนมะมวงในฤดูมีปริมาณลนตลาด เกิดจากวางแผนชวงเวลาการติดผลของ

                    มะมวงนอกฤดูคลาดเคลื่อน เกษตรกรไมเขาใจกลไกราคามะมวงสงออก เนื่องจากทราบเพียงราคาขายที่ตลาด

                                                                  ิ่
                    ปลายทาง ซึ่งมีราคาคอนขางสูง โดยไมทราบวาราคาขายที่เพมขึ้นดังกลาวสวนหนึ่งมาจากตนทุนดานโลจิสติกส
                    และตนทุนดานความเสี่ยงของผูสงออกและผูนำเขารวมอยูดวย โดยมีแนวทางในการแกไขปญหา ดวยการเพิ่ม
                    มาตรฐานการผลิตมะมวงในฤดูกาล เพื่อเพิ่มสัดสวนของมะมวงเกรด A ใหมีมากขึ้น เนื่องจากตลาดตางประเทศ

                    มีความตองการในปริมาณมาก และผูสงออกของไทยสามารถทำตลาดได รวมถึงใหความรูและสรางความเขาใจ

                    เกี่ยวกับกลไกดานการตลาดและราคาสินคาใหเกษตรกรไดรับทราบ เพื่อใหสามารถวางแผนการผลิตไดอยางมี

                    ประสิทธิภาพมากขึ้น (ปนัดดา กสิกจวิวัฒน และคณะ, 2557; พิมพณัฐชยา บุณยมาลิก, 2560)
                                               ิ
                          5)  ปญหาจากมาตรการกีดกันทางการคารูปแบบใหม






                                                            4-11
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55