Page 49 -
P. 49

ิ
                                 ิ
                              ื
                                               ์
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                ิ
                                                                   ิ
                          1)  ปญหาดานการผลิต


                          ปญหาในดานการผลิตที่พบโดยสวนใหญในการปลูกมะมวง คือ โรคและแมลงศัตรูพืชที่เกิดในมะมวง

                                
                    โดยโรคที่เปนปญหาสำคัญในการเพาะปลูกมะมวง คือ โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose) ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
                                   ิ
                    เชื้อรา โดยทำใหเกดอาการเปนจุดแผลบนใบ กิ่ง ผล และหากการทำลายของโรครุนแรงจะทำใหเกิดอาการใบ
                    แหง ใบบิดเบี้ยว และรวงหลน ชอดอกแหง ไมติดผล ตลอดจนผลเนาหลังการเกบเกี่ยว ดังนั้นเกษตรกรจึงควร
                                                                                 ็
                    หมั่นดูแลความสะอาดภายในสวน เชน การกำจัดเศษซากพืชหลังจากตัดแตงกิ่ง โดยอาจจะใชยาฆาราในชวง

                    ระยะที่มะมวงกำลังจะแตกใบออน สารเคมีที่สามารถนำมาใช ไดแก แมนโคเซบ คอปเปอรไฮดรอกไซด โพคลอ

                    ราซ อะซ็อกซีสโตรบิน และสารในกลุมไทรอะโซล ซึ่งควรพนฉีดสลับระหวางสารเคมีประเภทดูดซึมและ

                    สารเคมีประเภทสัมผัส นอกจากนี้อีกทางเลือกหนึ่ง คือ การใชสารประกอบทองแดงในชวงปลายฤดูกอนระยะ

                    หอผล ซึ่งไมมีคาปริมาณสารพิษตกคางสูงสุดที่ยุโรปกำหนดไว

                          นอกจากโรคแลว แมลงศัตรูพืชเปนอกปจจัยหนึ่งที่สงผลใหเกิดความเสี่ยงดานการผลิตมะมวง โดยแมลง
                                                      ี
                    ศัตรูพืชที่สำคัญของมะมวงในระยะตาง ๆ ไดแก ระยะแตกใบออน เชน ดวงงวงกดใบมะมวง และเพลี้ยงไฟ ระยะ
                                                                                ั
                                                                   
                    ออกดอก เชน เพลี้ยงไฟ เพลี้ยงจักจั่นมะมวง ระยะติดผล เชน หนอนผีเสื้อเจาะผลมะมวง ดวงงวงเจาะเมล็ด

                    มะมวง และแมลงวันผลไม ดังนั้นเกษตรกรจึงควรหมั่นดูแลความสะอาดภายในสวน เก็บใบ กิ่ง ผลมะมวงที่รวง

                    หลนไปทำลาย นอกจากนี้ควรตัดแตงทรงพุมมะมวงอยาปลอยใหทึบเกินไป (ธวัชชัย รัตนชเลศ และคณะ, 2555)
                                                            
                          2)  ปญหาการควบคุมมาตรฐานของผลผลิต


                          เกษตรกรบางรายที่มีพื้นที่ปลูกมะมวงไมมากสงผลใหเกษตรกรไมอยากขอรับรอง GAP ทำใหผลผลิตท ี่

                                                                             ั
                    สงออกไปอาจมีโรค แมลง หรือมีสารเคมีปนเปอน ซึ่งหากสงออกไปพรอมกบมะมวงน้ำดอกไมที่ไดรับรอง GAP
                    แลวประเทศปลายทางเกิดการสุมตรวจ พบวา มะมวงน้ำดอกไมดังกลาวไมมีความปลอดภัยตอผูบริโภค มะมวง

                    น้ำดอกไมทั้งหมดที่ไดรับการรับรองและไมไดรับการรับรองจะตองถูกทำลายทั้งหมด และอาจถูกขึ้นบัญชีเปน

                    สินคาหามนำเขาประเทศ นอกจากนี้เกษตรกรบางรายที่ไดรับรองจาก GAP แลวไมปฏิบัติตาม GAP อยาง

                    เครงครัด สงผลใหมีสารเคมีตกคางในผลผลิต เนื่องจากเกษตรกรขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองในการใช

                                                     
                                                
                    สารเคมี ดังนั้น ควรมีการจัดอบรมใหความรูแกเกษตรกรเกี่ยวกับการรับรอง GAP แลวใหเกษตรกรปฏิบัติตาม
                    GAP อยางเครงครัดโดยมีการติดตามและตรวจสอบผลอยางสม่ำเสมอ (รัตติญา งามระบำ, 2561)














                                                            4-10
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54