Page 56 -
P. 56

ิ
                                                                   ิ
                                                                                ิ
                                           ิ
                                               ์
                              ื
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                           บทที่ 5

                             สถานการณการผลิต การคา และปญหาของเกษตรกรผูปลูกทุเรียน





                           ทุเรียนเปนผลไมที่ไดรับฉายาวาเปน ราชาแหงผลไม (King of fruits) เปนไมผลยืนตนขนาดใหญ

                    สามารถเจริญเติบโตและใหผลผลิตไดดีในเขตที่มีสภาพอากาศรอนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม ประมาณ 10 – 46

                    องศาเซลเซียส มีจำนวนปริมาณน้ำฝนไมนอยกวา 2,000 มิลลิเมตรตอป มีการกระจายตัวของฝนดี ความชื้น
                    สัมพัทธของอากาศสูงประมาณรอยละ 75-85 ดินมีคาความเปนกรดเปนดาง (pH) ประมาณ 5.5 - 6.5 จึงเรียก

                    ไดวาทุเรียนเปนผลไมที่จัดอยูในกลุม Tropical fruits หรือกลุมผลไมในเขตรอนชื้น และเปนผลไมสำคัญของ

                    ประเทศไทยที่นอกจากบริโภคในประเทศแลว ยังสามารถสงออกทำรายไดใหกับประเทศในแตละปจำนวนมาก
                                                                                               
                    แหลงปลูกทุเรียนสำคัญของโลกสวนใหญอยูในพื้นที่ประเทศกลุมอาเซียน ไดแก ไทย เวียดนาม มาเลเซีย

                    อินโดนีเซีย และฟลิปปนส และถือวาไทยเปนแหลงผลิตอันดับ 1 ของโลก (กลุมพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก,
                    2563) ในประเทศไทยมีทุเรียนมากกวา 30 สายพันธุ ซึ่งแตละสายพันธุมีรสชาติที่แตกตางกันออกไป ทั้งนี้

                    พบวามีทุเรียนทั้งหมด 8 สายพันธุที่เปนที่นิยมนำมาเพาะปลูกและเปนที่นิยมในกลุมผูบริโภค ประกอบดวย

                    พันธุกานยาว พันธุหมอนทอง พันธุชะนี พันธุกระดุม พันธุหลงลับแล พันธุพวงมณี พันธุภูเขาไฟ และพันธุชะนี

                    เกาะชาง (กรุงเทพธุรกิจ, 2561)


                           เนื้อหาในบทที่ 5 นี้แสดงสถานการณปจจุบันของการผลิตและการคาของทุเรียน รวมทั้งปญหาที่
                    เกษตรกรผูปลูกทุเรียนเผชิญ โดยเปนการรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ รวมทั้งงานวิจัยในอดีตที่

                               ี้
                    เกี่ยวของ ทั้งน เนื้อหาของบทที่ 5 สามารถแบงออกไดเปน 5 สวน ไดแก (1) ภาพรวมการผลิตทุเรียนในประเทศ
                                                                           
                    ไทย (2) สถานการณราคาทุเรียน (3) การคาทุเรียน โดยประกอบดวยทั้งความตองการบริโภคในประเทศ และ

                    การสงออก (4) โครงสรางตลาดการคาทุเรียนในปจจุบัน และ (5) ปญหาที่เกษตรกรผูปลูกทุเรียนเผชิญ



                    5.1 การผลิตทุเรียน


                           สถานการณการเพาะปลูกทุเรียนในประเทศตลอดระยะเวลา 10 ปที่ผานมา (ป พ.ศ. 2554-2563)

                    พบวา เนื้อที่ยืนตน เนื้อที่ใหผล ผลผลิต และผลผลิตตอไร มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องจาก

                    เกษตรกรไดปรับเปลี่ยนพื้นที่จากการเพาะปลูกพืชชนิดอื่นมาปลูกทุเรียนแทน เชน ยางพารา ปาลมน้ำมัน และ
                    ผลไมชนิดอื่น เปนตน ประกอบกับแรงจูงใจทางดานราคาที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง

                    โดยในป พ.ศ. 2563 มีเนื้อที่ใหผล 791,165 ไร ผลผลิต 1,111,928 ตัน และใหผลผลิต 1,405 กิโลกรัมตอไร
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61