Page 52 -
P. 52

์
                                           ิ
                              ื
                                                                   ิ
              โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                 ิ
                                                                                ิ
                              •  ประสานความร่วมมือหน่วยงานเกี่ยวข้องส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรในระบบมาตรฐาน

                              •  ประสานร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุนเงินทุนเพื่อการเข้าสู่ตลาดการผลิตสินค้ามาตรฐานและ
                                 เป็นพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่องจนกว่าเกษตรกรจะมีความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น มีระบบ
                                 Coaching and Mentoring


                              ตัวชี้วัดความสำเร็จ
                              •  ปริมาณและมูลค่าตลาดสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น

                              •  ผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจด้านอาหารศึกษาที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐานเพิ่ม
                                 มากขึ้น

                              •  มีสัดส่วนการตลาดสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐานในประเทศและการส่งออก (40 : 60)
                              •  ชุดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมด้านการผลิตสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐาน ปีละ 50 ชุด

                              •  กิจกรรมการจัดการองค์ความรู้และบริหารการเปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรที่ต้องการ 20
                                 หลักสูตร/ กิจกรรม
                              •  ฐานข้อมูลสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐานของประเทศและสถานการณ์โลก (Big Data

                                 Analytic)
                              •  โครงสร้างตลาดสินค้าเกษตรที่รับรองมาตรฐานมีลักษณะที่เข้าใกล้ตลาดแข่งขัน มีรูปแบบ

                                 การค้าที่เป็นธรรม (Fair Trade) หรือระบบเกษตรพันธะสัญญา
                              •  การตรวจรับรองมาตรฐานมีความเชื่อมั่น/ยอมรับจากประเทศคู่ค้าและมีการให้บริการ

                                 สะดวกรวดเร็วและทั่วถึง
                              •  มีระบบการเฝ้าระวัง ระบบตรวจสอบย้อนกลับและระบบการบริหารความเสี่ยงที่มีความ

                                 เชื่อมั่น และปลอดภัยสูง
                              •  เกษตรกรได้รับการสอนงานแนะนำอย่างต่อเนื่อง
                              •  ผลประกอบการสุทธิของเกษตรกรที่ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น


                              การบูรณาการของคณะทำงานที่ร่วมบูรณาการในพื้นที่/จังหวัด และส่วนกลาง
                              โครงการ GAP มีคณะทำงานที่บูรณาการร่วมกันทั้งในระดับเขตและส่วนกลาง ได้แก่

                           ระดับกรม คือ คณะทำงานความร่วมมือด้านการรับรองแหล่งผลิตพืช ตามระบบการจัดการคุณภาพ
               การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืช (GAP พืช) เพื่อกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรมและแนวทาง
               ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรและกรมวิชาการเกษตร
                           ระดับเขต คือ คณะทำงานความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร

               เพื่อกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานในระดับเขต ติดตามผลการปฏิบัติงาน และแก้ไข ปัญหาอุปสรรคในพื้นที่ เช่น
               ระบบการตรวจสอบรับรองแหล่งผลิต GAP ของทางราชการล่าช้า เจ้าหน้าที่มีจำนวนน้อย เข้าตรวจแปลงไม่ทัน
               ทำให้เก็บเกี่ยวผลผลิตไปก่อนจึงไม่สามารถรับรองแปลงได้


                                                             34
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57