Page 124 -
P. 124
ิ
ิ
ื
ิ
ุ
ั
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน
ระหว่างปี ค.ศ.1465 - ค.ศ.1487 /พ.ศ.2008 - พ.ศ.2030 ปีที่ 17 แห่งรัชศกเฉิงฮว่าตรงกับปี
ค.ศ.1481 / พ.ศ.2024
3. หลีเฮ่า(黎灏)หรือหลีซือเฉิง(黎思诚)มีชวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ.1442 – ค.ศ.
ี
1497 / พ.ศ.1985 – พ.ศ.2040 คือจักรพรรดิหลีเซิ่งจง(黎圣宗)หรือจักรพรรดิเล ทั้ญ
ตงประมุของค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์เหิ่วเลของเวียดนาม ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ.1460 – ค.ศ.
1497 / พ.ศ.2003 – พ.ศ.2040
ื่
้
4. ไอเหลา(哀牢)ค านี้มีใชตั้งแต่โบราณในฐานะชอเผ่า “อ้ายลาว” ที่อาศัยอยู่
บริเวณยูนนานในช่วง 3 ศตวรรษก่อนคริสตกาลถึง ค.ศ.76 เป็นอาณาจักรโบราณ ศูนย์กลาง
อยู่ที่เมืองเป่าซาน มณฑลยูนนานในปัจจุบัน พื้นที่กินมาถึงเชียงราย ค.ศ.69 ขึ้นกับราชวงศ์ฮั่น
ั
ตั้งเป็นเมืองหย่งชง ปัจจุบันตอนกลางของมณฑลยูนนานมีเขาไอเหลาซาน ทอดตัวจาก
ตะวันตกเฉียงเหนือไปตะวันออกเฉียงใต้ ยอดหลักชื่อไอเหลาซานเช่นเดียวกันชื่อเทือกเขา แต่
ไอเหลาในที่นี้ไม่น่าจะเป็นเขาไอเหลาซานซึ่งต าแหน่งที่ตั้งอยู่ที่เมืองหย่งชัง เพราะเมืองหย่งชง ั
อยู่ตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของมณฑลยูนนาน (ดูแผนที่ประกอบ) ห่างจากเวียดนาม
และลาวมาก ผู้แปลสันนิษฐานว่าไอเหลาในที่นี้น่าจะเป็นชอสถานที่ในเวียดนามที่ใกล้กับลาว
ื่
หรืออาจหมายถึงลาวโดยตรง
5. เตาป๋านหย่า(刀板雅)พ่าหย่าไซ่(怕雅赛)ประมุขของลาวและบุตร ใน
พงศาวดารราชวงศ์หมิงนี้เขียนว่าเตาป๋านหย่ากับบุตรสองคนตายในสงคราม ส่วนพ่าหย่าไซ่
บุตรคนเล็กหนีไปอยู่จิ๋งข่าน (เชยงคาน) ก่อนจะกลับมาสืบต าแหน่งเซวียนเว่ย (ข้าหลวง
ี
ก ากับ) ต่อจากบิดา พงศาวดารราชวงศ์หมิงระบุว่าเหตุการณ์นี้เกิดใน ปี ค.ศ.1481 / พ.ศ.
2024
เตาป๋านหย่าน่าจะหมายถึงพระยาไชยจักรพรรดิแผ่นแผ้ว และพ่าหย่าไซ่น่าจะ
้
่
หมายถึงพระยาสุวรรณบัลลังก์ พระยาไชยจักรพรรดิแผ่นแผ้วเป็นกษัตริย์ล้านชางในชวงที่
เวียดนามยกมาตีลาว ในหนังสือ “ล าดับกษัตริย์ลาว” สอบศักราชปีครองราชย์ของทั้งสอง
97