Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                        (1) การจัดท้าแผนการใช้ที่ดิน
                                        มาตรการที่ต้องด าเนินการมี 3 ด้าน คือ (1.1) การวางแผนการใช้ที่ดินระดับ

                  ลุ่มน้ าย่อย (1.2) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดท าแผนการใช้ที่ดิน และ(1.3) การควบคุมการใช้ที่ดินให้
                  เป็นไปตามแผนการใช้ที่ดิน
                                        (2) การสร้างสมดุลในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต
                                        มาตรการที่ต้องด าเนินการมี 3  ด้าน คือ (2.1)  มาตรการด้านพัฒนาสิ่งแวดล้อม

                  (2.2) มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้ า และ (2.3) มาตรการด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ได้รับการจัดที่ดิน
                                        (3) การลดการใช้พื้นที่เกษตร
                                        มาตรการที่ต้องด าเนินการมี 3 มาตรการ คือ (3.1) ส่งเสริมให้พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1
                  และชั้นที่ 2 เป็นแหล่งท่องเที่ยว (3.2) ใช้โรงเรือนผลิตพืชแทนการปลูกในพื้นที่เกษตรเดิม

                  และ(3) มาตรการเลี้ยงผึ้งและปลูกหวาย
                                        (4) การบูรณาการในการขับเคลื่อนการจัดที่ดินท้ากิน
                                        มาตรการที่ต้องด าเนินการมีมาตรการเดียว คือ การบูรณาการในการจัดท า
                  แผนปฏิบัติการพัฒนาพื้นที่

                                        (5) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2
                                        มาตรการที่ต้องด าเนินการมี 2  ด้าน คือ (5.1)  มาตรการการจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่
                  ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 (5.2) การปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับป่าไม้ (รายงานบทที่ 11)


                                4.5.2 ตัวอย่างแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่จัดที่ดินท้ากินให้ชุมชนภายใต้
                  คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ
                                ได้มีการจัดท าตัวอย่างแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชน รวม 5 พื้นที่ คือ
                                        (1) จังหวัดน่าน มี 2 พื้นที่ คือ

                                               (1.1) พื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนป่าแลวหลวง ต าบลดู่พงษ์ อ าเภอสันติสุข
                                               (1.2) พื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนป่าแม่น้ าน่าน ฝั่งตะวันออก (ตอนใต้)
                  ต าบลน้ าปาย อ าเภอแม่จริม
                                        (2) จังหวัดเชียงราย มี 1 พื้นที่ คือ

                                        พื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนป่าห้วยป่าแดง ป่าห้วยป่าตาล และป่าห้วยไคร้
                  ต าบลตับเต่า อ าเภอเทิง และอ าเภอขุนตาล
                                        (3) จังหวัดสุราษฎร์ธานี มี 1 พื้นที่ คือ

                                        พื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนในพื้นที่ป่าคลองน้ าเฒ่า ต าบลล าพูน อ าเภอนาสาร

                                        (4) จังหวัดกระบี่ มี 1 พื้นที่ คือ
                                        พื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนในพื้นที่ป่าเขาต่อ ต าบลเขาต่อ อ าเภอปลายพระยา
                  และอ่าวลึก

                                        แผนการใช้ที่ดินกรณีตัวอย่างที่จัดท าขึ้นนี้ มีหลายสถานภาพ ตามชั้นคุณภาพลุ่มน้ า
                  ของแต่ละพื้นที่ เพื่อน าไปขยายผลในอนาคตและเนื่องจากหลักเกณฑ์คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.)
                  และมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ได้ก าหนดให้มีการอนุรักษ์ดินและน้ า ในพื้นที่ที่น ามาจัดเป็น
                  ที่ดินท ากินให้ชุมชน แผนการใช้ที่ดินทั้ง 5 พื้นที่นี้จึงได้เน้นการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าของแต่ละเขต

                  การใช้ที่ดินที่ก าหนดขึ้นไว้ทั้งระบบวิธีกล  (Mechanical  Measures) และวิธีพืช (Vegetation  Measures)
                  (ภาคผนวกที่ 1)


                                                             จ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12