Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                4.4.2 การส้ารวจความเห็นผู้มีส่วนได้เสียในการจัดที่ดินท้ากินให้ชุมชนภายใต้
                  คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ

                                ได้มีการก าหนดผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการ
                  จัดที่ดินท ากินให้ชุมชนรวม 8 หน่วยงาน องค์การภาคเอกชนและผู้น าท้องถิ่น จ านวน 32 ตัวอย่าง
                  (2) เกษตรกรในภาคเหนือ จ านวน 32 ตัวอย่าง (3) เกษตรกรในภาคใต้ จ านวน 31 ตัวอย่าง ความเห็นของ
                  ผู้ให้สัมภาษณ์ กลุ่มที่ 1 ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐเพราะจะเป็นการลดความขัดแย้งระหว่างรัฐ

                  กับประชาชน ลดการบุกรุกท าลายป่าไม้ ผู้ให้สัมภาษณ์บางส่วนในกลุ่มนี้ไม่เห็นด้วย เพราะขัดกับหลัก
                  วิชาการจัดการลุ่มน้ าและเกรงว่านโยบายของรัฐจะไม่ต่อเนื่อง ส่วนเกษตรกรทั้งภาคเหนือและภาคใต้
                  เห็นด้วยกับการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชน เพราะจะลดปัญหาการถูกจับกุมและจะได้มีความมั่นคงในการ
                  ด ารงชีวิต แต่ไม่เห็นด้วยกับมาตรการในการจัดที่ดินท ากินเป็นแปลงรวม (รายงานบทที่ 8)


                                4.4.3 การส้ารวจพื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ที่มีและไม่มีระบบการอนุรักษ์ดินและ
                  น้้าในพื้นที่ภาคเหนือและภาคใต้
                                ผลการส ารวจพบว่าในพื้นที่ภาคเหนือมีการปลูกพืชหลายชนิด ทั้งพืชไร่และไม้ยืนต้น

                  การอนุรักษ์ดินและน้ า มีการด าเนินการเฉพาะในพื้นที่ที่มีโครงการพัฒนาของสถาบันและส่วนราชการต่างๆ
                  นอกจากนั้นไม่มีการอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ที่ท าการเกษตรอยู่ในปัจจุบันมีสภาพ
                  เสื่อมโทรม ส่วนในภาคใต้สวนยางพารามีอายุมาก ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ดินเสื่อมโทรมจากการ
                  ชะล้างพังทลายของดิน ผลผลิตยางพาราลดลงจากเดิม (รายงานบทที่ 9)


                                4.4.4 การสังเคราะห์ข้อมูล (Synthesis) และการถอดบทเรียน
                                ได้มีการน าผลการทบทวนวรรณกรรมในการบริหารจัดการลุ่มน้ าในประเทศไทย
                  และประสบการณ์นานาชาติ ผลการส ารวจพื้นที่ในสนาม ความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการน าพื้นที่ลุ่มน้ า
                  ชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 มาจัดเป็นที่ดินท ากินมาสังเคราะห์แล้วถอดเป็นบทเรียนได้ 9 ประการ ดังนี้ (1) นโยบายใน

                  การบริหารจัดการลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ไม่มีเอกภาพ (2) มีการก าหนดนโยบายแต่ไม่มีการปฏิบัติ
                  (3) การบริหารจัดการยึดกฎหมายเป็นหลักโดยไม่ค านึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน (4) การบังคับใช้
                  กฎหมายไม่มีประสิทธิภาพ (5) การแก้ปัญหาบางประการด าเนินการโดยไม่มีความพร้อม (6) ขาดการบูรณา

                  การระหว่างส่วนราชการ (7) ความล้มเหลวของการใช้เวลาเป็นหลักเกณฑ์ในการเข้าท ากินของราษฎรใน
                  พื้นที่ป่าไม้มาก าหนดเป็นนโยบายในการแก้ไขปัญหา  (8)  การก าหนดนโยบายการเกษตรไม่สอดคล้องกับ
                  นโยบายป่าไม้ (9) ขาดระบบข้อมูลที่ใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจในการบริหารราชการ (รายงานบทที่ 10)


                         4.5 ข้อเสนอแนะ
                         ผลการวิจัยได้จัดท าเป็นข้อเสนอแนะ 2 ประการ คือ (1) การจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายในการ
                  บริหารจัดการพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 และ(2) ตัวอย่างแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่จัดที่ดินท ากินให้ชุมชน
                  ภายใต้คณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ โดยสรุปได้ดังนี้


                            4.5.1 การจัดท้าข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารจัดการพื้นที่ลุ่มน้้าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2
                               การจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายเป็นวัตถุประสงค์หลักของโครงการ “นโยบายการจัดที่ดิน
                  ท ากินบนพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 : วิกฤติหรือยั่งยืน” ซึ่งได้ก าหนดเป็นยุทธศาสตร์ 5 ด้าน คือ




                                                              ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11