Page 4 -
P. 4
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สรุปส้าหรับผู้บริหาร
1. ชื่อเรื่อง “นโยบายการจัดที่ดินท ากินบนพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 : วิกฤติหรือยั่งยืน”
“Land Allocation on Watershed Class I and II Policy : Critical or Sustainable”
2. คณะผู้วิจัย : 1. นาย โสภณ ชมชาญ
นักวิชาการอิสระ
โทร. 089 1125355
E-mail : Sopon_7@yahoo.com
2. นางสาวปานพิมพ์ นพรัตน์ศุภสิน
นักวิชาการอิสระ
โทร. 094 6634264
E-mail : bia_koranit@hotmail.com
3. งบประมาณและระยะเวลาท้าวิจัย
- ได้รับงบประมาณประจ าปี พ.ศ. 2563 งบประมาณที่ได้รับ 927,000.00 บาท
- ระยะเวลาท าวิจัยตั้งแต่ ตุลาคม 2563 ถึง ตุลาคม 2564
4. สรุปโครงการวิจัย
4.1 หลักการและเหตุผลที่ต้องท้าวิจัยเรื่องนี้
คณะรัฐมนตรีมีมติวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ให้น าพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 มาจัดให้แก่
เกษตรกรเป็นที่ดินท ากินนั้น เป็นการเปลี่ยนแปลงจากในอดีตที่ก าหนดให้เป็นป่าอนุรักษ์ เพราะมีระบบ
นิเวศที่เปราะบางและเป็นป่าต้นน้ าที่เป็นแหล่งเก็บกักน้ าและอ านวยน้ าเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ า
ตอนล่าง หากมีการด าเนินการที่ผิดพลาด จะส่งผลกระทบต่อทั้งพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 และพื้นที่
การเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ าตอนล่าง จึงมีความจ าเป็นต้องมีการก าหนดนโยบายการบริหารจัดการให้น าไปสู่
การใช้ที่ยั่งยืน
4.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ที่ก าหนดไว้ 7 ประการนั้น ต้องการให้ได้ค าตอบที่เป็นนโยบายและ
มาตรการในการบริหารจัดการลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 โดยการสร้างสมดุลการพัฒนาสิ่งแวดล้อมกับ
คุณภาพชีวิตของผู้ที่ได้รับการจัดที่ดินท ากินในพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 เพื่อให้มีการใช้ที่ดินที่ยั่งยืนใน
พื้นที่ลุ่มน้ าตอนบนและลดภัยพิบัติต่อพื้นที่การเกษตรในลุ่มน้ าตอนล่าง
4.3 ระเบียบวิธีวิจัย ได้มีการก าหนดขั้นตอนในการด าเนินการ ไว้ รวม 12 ขั้นตอน ซึ่งมีทั้งการ
ทบทวนวรรณกรรมการบริหารจัดการลุ่มน้ าในอดีต สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศไทย ประสบการณ์
นานาชาติในการบริหารจัดการลุ่มน้ า การส ารวจพื้นที่ในสนาม การส ารวจความเห็นของผู้ที่มีส่วนได้เสีย
เกี่ยวกับการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) เจ้าหน้าที่ของรัฐ องค์กรภาคเอกชน
ผู้น าท้องถิ่น (2) เกษตรกรภาคเหนือ และ(3) เกษตรกรภาคใต้ จ านวน 95 ตัวอย่าง ข้อมูลทั้งหมดได้น ามา
สังเคราะห์เป็นนโยบายและมาตรการตามวัตถุประสงค์
ข