Page 129 -
P. 129

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                   การปรับแตงและ







               บทที่ 7             วิเคราะขอมูลเชิงพื้นที่




                                   Data Manipulation and


                                   Spatial Data Analysis




               บทที่ 7 การปรับแตงขอมูลและการวิเคราะขอมูลเชิงพื้นที่ (Data

               Manipulation and Spatial Data Analysis)


               การปรับแตงขอมูลและการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่บางทีเรียกกระบวนการดําเนินการทั้งสองนี้วา “การ
               จัดดําเนินการขอมูล”  ในความหมายของ Star and Estes  (1990)  หมายถึงการดําเนินการตาง ๆ ที่

               เกี่ยวกับขอมูลเชิงวัตถุเพื่อตอบสนองตามวัตถุประสงคที่ตองการหรือเปนสรางขอมูลขาวสารใหม ๆ

               จากขอมูลเดิม เชน สรางขอมูลหมุดหลักฐานอางอิงทองถิ่นจากขอมูลหมุดหลักฐานสากล   สวนการวิ-
               เคราะขอมูลเชิงพื้นที่ หมายถึง การคนหาหลักการพื้นฐานใหม ๆ จากปรากฏการณตาง ๆ ที่อยูบนพื้นที่

               นั้น ๆ ดังนั้นผลที่ไดจากกระบวนการปรับแตงขอมูลและวิเคราะหเชิงพื้นที่เปนวิธีการสรางชั้นขอมูลใหม

               (Data layer) จากขอมูลที่เรานําเขา ซึ่งขั้นตอนนี้เปนองคประกอบที่สําคัญหนึ่งองคประกอบของระบบ
               สารสนเทศภูมิศาสตร ตัวอยางกระบวนการดําเนินการขอมูลและวิเคราะหขอมูลดังนี้

                              - การจัดประเภทและการรวมกลุมขอมูล

                              - การดําเนินการทางเรขาคณิต เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับหมุน การเลื่อนที่   การ

               ยอขยาย การตรึงภาพ (Rectification) และการลงทะเบียนเพื่อใสพิกัดขอมูล (Registration)
                              - การกําหนดควบคุมขอมูล และการหาจุดศูนยถวง

                              - การแปลงโครงสรางขอมูล

                              - การดําเนินการเชิงพื้นที่ของความเชื่อมตอและพื้นที่โดยรอบของวัตถุ
                              - การวัดเกี่ยวของกับการวัดระยะ ทิศทาง เสนรอบรูป พื้นที่และปริมาตรของวัตถุ

                              - การวิเคราะหทางสถิติเปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับสถิติเชิงเชิงพรรณนา และการ

               อนุมาน เชน การสรุปคาเฉลี่ย คาสูงสุด คาต่ําสุด การวิเคราะหการถดถอย การหาคาความสัมพันธ
               และการใชลักษณะตารางไขว

                              - การพัฒนาแบบจําลองเชิงพื้นที่





                                                          -120-
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134